ประจานให้ได้เจ็บ: Doxxing วิธี (ไม่) ใหม่ในการปิดปากผู้เห็นต่าง
พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึง doxxing (หรือ doxing) การจงใจรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวของคนหรือกลุ่มคน ซึ่งกลายมาเป็นอาวุธโจมตีผู้เห็นต่างในสนามความขัดแย้ง


พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึง doxxing (หรือ doxing) การจงใจรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวของคนหรือกลุ่มคน ซึ่งกลายมาเป็นอาวุธโจมตีผู้เห็นต่างในสนามความขัดแย้ง
จากกรณีนายกรัฐมนตรีฉีดสเปรย์แอลกอฮอลใส่สื่อมวลชน พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงปัญหาการใช้ความรุนแรงที่หนุนโดยรัฐต่อนักข่าวที่นำไปสู่การบั่นทอนประชาธิปไตย ผ่านกรณีการโจมตีนักวารสารศาสตร์หญิงชาวฟิลิปปินส์ทางออนไลน์ และมองย้อนมาถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในไทย
พรรษาสิริ กุหลาบ ชวนทบทวนคุณค่าของสื่อวารสารศาสตร์ (อีกครั้ง) ในคืนวันที่รัฐใช้ความรุนแรงต่อผู้ชุมนุม
พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงที่ทางของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence (AI) กับงานด้านวารสารศาสตร์ ในยุคที่บางคนบอกว่านักข่าวจะตกงาน เพราะเทคโนโลยีจะมาทำงานแทน
ในห้วงเวลาที่สังคมตั้งคำถามว่า เราจะ “พูด” อะไรได้บ้างในสังคมที่ขัดแย้งแบ่งขั้วอย่างยืดเยื้อ พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึง ‘พื้นที่สื่อสาร’ ที่จำเป็นในสถานการณ์ความขัดแย้ง โดยยกตัวอย่างผ่านกระบวนการสันติภาพในชายแดนใต้และไอร์แลนด์เหนือ
พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงการกำกับดูแลสื่อและสิ่งที่รัฐควรทำในสถานการณ์ความขัดแย้ง สถานการณ์ที่ประชาชนต้องการ “ข้อเท็จจริง” ที่พิสูจน์ได้
พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงบทบาทของสื่อมวลชนที่ต้องตรวจสอบข้อกล่าวอ้างของแหล่งข่าวในสถานการณ์ที่แหล่งข่าวอาจเป็นผู้ให้ข้อมูลเท็จหรือบิดเบือน ผ่านกรณีการออกมาเคลื่อนไหวปกป้องเด็กจากการค้ามนุษย์ที่นำโดย QAnon
พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึง กระแสการแบนสื่อและคนในวงการสื่อ ที่จะสะท้อนให้เห็นว่าการเรียกร้องต่อ ‘จริยธรรมวิชาชีพ’ ไม่ได้เป็นการคุ้มครองการละเมิดหรือปกป้องสิทธิของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น แต่ยังเชื่อมโยงโดยตรงกับหลักการประชาธิปไตยด้วย
สรุปเนื้อหาจากการประชุมออนไลน์ Newsrewired ที่ Sara Fischer ผู้สื่อข่าวด้านสื่อของเว็บไซต์ข่าว Axios เสนอให้จับตาแนวโน้ม 4 ด้านที่มีผลต่อการกำหนดทิศทางของแวดวงวารสารศาสตร์ของสหรัฐอเมริกาในอนาคต
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว