fbpx

Seacrh result : เยาวชนปลดแอก

Filter

Sort

46 results found.

Asia

28 Jan 2021

ประชาธิปไตยที่โอบรับอุดมการณ์ทางการเมืองอันหลากหลาย : สูตรไม่ลับฉบับอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญอินเดีย สูตร (ไม่) ลับทีโอบรับไว้ทั้งพรรคคอมมิวนิสต์และพรรคขวาฮินดูนิยม รวมทั้งอุดมการณ์ทางการเมืองอื่นๆ ที่ต่างกันอย่างสุดขั้วในสังคมอินเดียสามารถอยู่ร่วมกันได้มาอย่างยาวนาน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

28 Jan 2021

Thai Politics

8 Jan 2021

ปรับตัว รับใช้สังคม : สื่อ-ศิลป์ ในวิกฤตโรคและการเมืองปี 2020

101 ชวนคุณย้อนมองสื่อและศิลป์ผ่านผลงานในปี 2020 เพื่อทบทวนภาพกว้างของสถานการณ์อันท้าทายในปีที่ผ่านมา ซึ่งอาจสะท้อนภาพรางๆ ของอนาคตข้างหน้าว่า สื่อและศิลป์จะเดินทางต่ออย่างไรในปีที่ใครๆ ต่างหวาดกลัวว่าจะหนักหนาไม่แพ้กัน

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

8 Jan 2021

Thai Politics

7 Jan 2021

การเมืองภาคประชาชน 2020 : ปีแห่งการทำลายเพดาน

ชวนย้อนมองการเมืองภาคประชาชนในปี 2020 ผ่านผลงานที่เผยแพร่ทาง The101.world ที่มุ่งทำความเข้าใจสถานการณ์ที่เกิดขึ้น อันเป็นทางแยกที่สำคัญทางการเมืองไทย เพื่อมองไปยังปี 2021

วจนา วรรลยางกูร

7 Jan 2021

Political Economy

24 Dec 2020

สังคมนิยมไม่ใช่คำตอบ: มุมมองผ่านแว่นตาของดักลาส นอร์ธ

อิสร์กุล อุณหเกตุ ชวนอ่านมุมมองเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมที่เคยเกิดขึ้นจริงในประวัติศาสตร์เศรษฐกิจโลก ผ่านกรอบแนวคิดแบบสำนักเศรษฐศาสตร์สถาบันแนวใหม่ (NIEs) ของดักลาส นอร์ธ

อิสร์กุล อุณหเกตุ

24 Dec 2020

Thai Politics

22 Dec 2020

‘รัฐธรรมนูญสนทนา’ จุดเริ่มต้นฉันทมติใหม่ เพื่ออนาคตที่นับรวมทุกคน

เปิดตัวโครงการ Constitution Dialogue: รัฐธรรมนูญสนทนา ตั้งโจทย์ชวนสังคมร่วมคิดร่วมถกเถียงเรื่องรัฐธรรมนูญบนฐานความรู้

กองบรรณาธิการ

22 Dec 2020

Thai Politics

22 Dec 2020

เส้นทางยอกย้อนของ ‘ประชาธิปไตย’ และ ‘สาธารณรัฐ’ ในการเมืองไทย

ธนาพล อิ๋วสกุล เขียนถึงการให้ความหมาย ‘ประชาธิปไตย’ ก่อน 2475 ที่มีจินตนาการถึงการสร้าง ‘สาธารณรัฐ’

ธนาพล อิ๋วสกุล

22 Dec 2020

Thai Politics

23 Nov 2020

ม็อบ มีมและการเมืองคนรุ่นใหม่ กับ อาจินต์ ทองอยู่คง

101 สนทนากับ อาจินต์ ทองอยู่คง อาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อทำความเข้าใจที่ทางของมีมในกระแสการเคลื่อนไหวทางการเมืองในไทย และ pop culture ในการประท้วง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

23 Nov 2020

Thai Politics

20 Oct 2020

เสียงที่ไม่อาจปิดกั้น: กฎหมายไม่ใช่ทางออกในการกำกับดูแลสื่อในความขัดแย้ง

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงการกำกับดูแลสื่อและสิ่งที่รัฐควรทำในสถานการณ์ความขัดแย้ง สถานการณ์ที่ประชาชนต้องการ “ข้อเท็จจริง” ที่พิสูจน์ได้

พรรษาสิริ กุหลาบ

20 Oct 2020

Thai Politics

19 Oct 2020

ทางสองแพร่งปราบปรามหรือรับฟัง ม็อบเดือนตุลา 2563 เมื่อคนรุ่นใหม่ต้องการเปลี่ยนแปลง

อายุษ ประทีป ณ ถลาง อ่านสถานการณ์ม็อบคนรุ่นใหม่เดือนตุลาฯ 63 ที่สั่นสะเทือนการเมืองไทยอย่างรุนแรงและร้อนแรง

อายุษ ประทีป ณ ถลาง

19 Oct 2020

Photojournalism

18 Oct 2020

“ท่านเด็ดดอกไม้ทิ้งจะยิ่งบาน” #ม็อบ18ตุลา

เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม เวลา 16.00 น. ที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ กลุ่มผู้ชุมนุมเดินทางมาชุมนุมตามการนัดหมายของกลุ่มเยาวชนปลดแอก และกลุ่มแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุม โดยมีการนัดหมาย 2 จุดหลักคือบริเวณอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และแยกอโศก

เมธิชัย เตียวนะ

18 Oct 2020

Media

17 Oct 2020

101 In Focus Ep.61 : ยิ่งกดขี่ปราบปราม ขบวนการประชาชนก็ยิ่งเด็ดเดี่ยวและเติบโต

101 In Focus สัปดาห์นี้ ชวนหาคำตอบว่า ความหวาดกลัวที่ผู้มีอำนาจพยายามใช้กดขี่มวลชนจะนำไปสู่การอ่อนกำลังของขบวนการเสมอไปหรือไม่ แล้วโซเชียลมีเดียมีพลังต้านการกดขี่คุกคามหรือไม่

กองบรรณาธิการ

17 Oct 2020

Thai Politics

14 Oct 2020

คณะราษฎร 2563

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เปรียบเทียบ ‘คณะราษฎร 2563’ และ ‘คณะราษฎร 2475’ ว่ามีอุดมการณ์เดียวกันคือการปฏิรูปให้สถาบันพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

14 Oct 2020

Politics

14 Oct 2020

Paradox of Repression: ยิ่งกดขี่ปราบปราม ขบวนการประชาชนก็ยิ่งเด็ดเดี่ยวและเติบโต

ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์วิเคราะห์ 4 เหตุผลที่ทำให้การปราบปรามผู้ชุมนุมอย่างไม่ชอบธรรมจะยิ่งทำให้ขบวนการเคลื่อนไหวยิ่งเด็ดเดี่ยวและเติบโต

ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์

14 Oct 2020

Thai Politics

8 Oct 2020

“น้อมกายก้มหัวเป็นงัวงาน” รู้จักหน่วยซัพพอร์ตม็อบ #ให้มันจบที่รุ่นเรา

101 พาไปรู้จัก ‘งัวงาน’ ที่ก้มหัวขวางคิ้วให้กับแรงเสียดทานที่เข้ามาทุกสารทิศ และน้อมรับหน้าที่เล็กๆ ด้วยหัวใจที่ยิ่งใหญ่

ธิติ มีแต้ม

8 Oct 2020

Spotlights

7 Oct 2020

สีของทางเลือกนอกกรอบ? ย้อนคิดใคร่ครวญถึงปฏิบัติการไม่ใช้ความรุนแรงในศตวรรษที่ 21

จากเหตุการณ์สาดสีใส่เจ้าหน้าที่ตำรวจจนเกิดเป็นประเด็นวิพากษ์วิจารณ์ว่า การกระทำดังกล่าวเป็นการใช้ความรุนแรงหรือไม่ บทความของ ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ ชวนเราย้อนคิดใคร่ครวญ และตั้งคำถามกับปฏิบัติการไม่ใช้ความรุนแรงในศตวรรษที่ 21

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์

7 Oct 2020
1 2 3 4

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save