fbpx

World

8 Nov 2022

Is America Back? สหรัฐฯ โลก และเอเชียแปซิฟิกหลัง America must lead again – ประพีร์ อภิชาติสกล

101 สนทนากับ ประพีร์ อภิชาติสกล วิเคราะห์บทบาทการนำโลกและการกลับมาปักหมุดในเอเชียของสหรัฐฯ หลังออกจากโหมดโดดเดี่ยว ไปจนถึงความสัมพันธ์ไทย-สหรัฐฯ ในยุคที่ซับซ้อนผันผวนมากที่สุดยุคหนึ่ง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

8 Nov 2022

US

7 Oct 2022

ความยุติธรรมนั้นอยู่ที่ไหน จากไทยแลนด์ถึงสหรัฐอเมริกา

จากเหตุการณ์ 6 ตุลาในไทยที่ยังหาผู้รับผิดไม่ได้ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณชวนมองไปถึงการเรียกร้องความเป็นธรรมของคนผิวดำในอเมริกา โดยต้องเริ่มต้นจากการทำให้ ‘ประวัติศาสตร์ของผู้ถูกกระทำ’ เป็น ‘ประวัติศาสตร์ชาติ’ และวิพากษ์ประวัติศาสตร์ชาตินิยมดั้งเดิมได้อย่างมีน้ำหนัก

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 Oct 2022

US

2 Sep 2022

“ไม่มีใครอยู่เหนือกฎหมาย”: ระหว่างกระทรวงยุติธรรมกับโดนัลด์ ทรัมป์ ใครใหญ่กว่ากัน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์สถานการณ์และชวนจับตาศึกทางกฎหมายจากการพยายามเอาผิดโดนัลด์ ทรัมป์ จากเหตุการณ์บุกคองเกรส อันทำลาย ‘consensus’ ของสังคมอเมริกันที่ดำเนินมายาวนาน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

2 Sep 2022

Political Economy

25 Aug 2022

หลายคำถามต่อ Top Gun: หนัง เงิน อเมริกัน ฮีโร

อุกฤษฎ์ ปัทมานันท์ มองภาพยนตร์ Top Gun: Maverick ซึ่งเป็นตัวอย่างสะท้อนการใช้ระบบทุนนิยมดิจิทัลเป็นเครื่องมือขยายแนวคิดและอิทธิพลของสหรัฐฯ

อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์

25 Aug 2022

World

15 Aug 2022

กว่าจะเป็น Neocon : ประวัติศาสตร์ย่นย่อของอนุรักษนิยมใหม่ในสหรัฐอเมริกา

ชุติเดช เมธีชุติกุล ชวนอ่านประวัติศาสตร์ฉบับย่นย่อของกลุ่ม ‘Neoconservatism’ หรือ ‘Neocon’ ในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่รุ่นที่หนึ่งจนถึงรุ่นที่สาม

ชุติเดช เมธีชุติกุล

15 Aug 2022

US

4 Aug 2022

ความศักดิ์สิทธิ์ของรัฐธรรมนูญอยู่ที่การทรยศของคนในชนชั้นปกครอง

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ทำความเข้าใจการเมืองอเมริกันในยุคหลังโลกาภิวัตน์ผ่านการสอบสวนความจริงในเหตุการณ์บุกสภาคองเกรสเมื่อ 6 ม.ค. 2021

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

4 Aug 2022

World

1 Aug 2022

ยกเลิก Roe VS Wade: ‘เถียงกันเรื่องแท้ง’ ในประชาธิปไตยแบบมีตัวแทน+เสรีนิยม 

ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ อธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับสิทธิการทำแท้งในสหรัฐอเมริกาหลังศาลสูงยกเลิกคำวินิจฉัยกรณี Roe VS. Wade และชวนมองปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นต่อมา รวมถึงสิ่งที่ต้องจับตามองต่อไป

ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์

1 Aug 2022

US

18 Jul 2022

เรียนฐานคิดของเสรีนิยม (ไม่ใหม่) จากงานของนักรัฐศาสตร์รัฐธรรมนูญอเมริกัน Vincent Ostrom (1919-2012)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านฐานคิดของ ‘เสรีนิยม’ ในการเมืองระหว่างประเทศผ่านงานเขียนของ Vincent Ostrom นักรัฐศาสตร์รัฐธรรมนูญอเมริกันผู้เลื่องชื่อ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

18 Jul 2022

World

1 Jul 2022

ใครควบคุม ‘สิทธิทำแท้ง’ สิทธิในตัวเองของสตรี

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์ที่มาที่ไปก่อนที่ศาลสูงสุดสหรัฐฯ จะคว่ำคำพิพากษาคดีปัญหาการทำแท้งประวัติศาสตร์ (Roe v. Wade) ท่ามกลางการต่อสู้ยาวนานของฝ่าย pro-choice และฝ่าย pro-life และเกมการหาเสียงสนับสนุนทางการเมือง

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

1 Jul 2022

World

7 Jun 2022

เก็บตก 4 ประเด็นใหญ่: สหรัฐฯ มองเห็นอะไรจากการประชุมซัมมิตอาเซียน-สหรัฐฯ

101 เก็บตกบทสนทนาโต๊ะกลมระหว่างไมเคิล ฮีธ รักษาการเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศไทย กับคณะสื่อว่าด้วยเรื่องการปักหมุดความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ-อาเซียนใหม่ในศตวรรษที่ 21

กองบรรณาธิการ

7 Jun 2022

World

2 Jun 2022

กระสุนลั่นกลางโรงบรรเลงดุริยางค์: ลัทธิปัจเจกชนสุดขั้วกับการขยายตัวเองของระบบทุนนิยม

จากเหตุกราดยิงในอเมริกา ธเนศ อาภรณ์สุวรรณวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมรุนแรงโดยมองผ่านพัฒนาการทางสังคมอเมริกานับแต่อดีต

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

2 Jun 2022

Life & Culture

30 Mar 2022

ระลึกถึง Madeleine Albright (1937 – 2022)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนระลึกถึง Madeleine Albright อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐอเมริกาที่เพิ่งถึงแก่อนิจกรรม และชวนสำรวจความกังวลต่อลัทธิฟาสซิสต์ ซึ่งเป็นความกังวลสุดท้ายในชีวิตเธอ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

30 Mar 2022

World

3 Feb 2022

การเมืองเรื่องการแต่งตั้งผู้พิพากษาศาลสูงสุดสหรัฐ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงการแต่งตั้งผู้พิพากษาศาลสูงสุดในสหรัฐอเมริกาที่กำลังจะมีขึ้นในราวปลายเดือนกุมภาพันธ์นี้ ซึ่งเป็นตัวสะท้อนสำคัญของความเปลี่ยนแปลงในภูมิทัศน์ของระบบประชาธิปไตยในอเมริกา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

3 Feb 2022

World

7 Jan 2022

ระบบวรรณะในอเมริกามาได้อย่างไร?

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองปัญหาของสังคมอเมริกันปัจจุบันจากมุมมองประวัติศาสตร์ ท่ามกลางความสัมพันธ์ที่ไม่เท่าเทียมกันระหว่างสีผิวเชื้อชาติโดยเฉพาะผิวขาวกับผิวดำ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 Jan 2022
1 2 3 8

RECOMMENDED

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

Social Issues

2 Apr 2024

สหภาพแรงงานการศึกษาในสิงคโปร์: พลังต่อต้านในยุคอาณานิคมที่ถูกเลือกปฏิบัติ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงพัฒนาการสหภาพแรงงานครูในสิงคโปร์ ตั้งแต่เป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐมลายา จนกระทั่งแยกตัวออกมาในฐานะชาติใหม่ พร้อมสำรวจเส้นทางการต่อสู้ที่หยั่งรากมาตั้งแต่ช่วงอาณานิคม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

2 Apr 2024

World

19 Mar 2024

ผ้าโปเล็ง : สำรวจปรัชญาที่ซุกซ่อนอยู่ใต้ผ้าขาวม้าขาวดำของบาหลี

อรอนงค์ ทิพย์พิมล พาเราไปสำรวจ ‘ผ้าโปเล็ง’ ผ้าขาวม้าสีขาวดำจากบาหลี ที่เป็นมากกว่าผ้าขาวม้าธรรมดาทั่วไป เพราะมีปรัชญาซุกซ่อนอยู่เบื้องหลัง

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

19 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save