fbpx

Documentary

30 Jan 2022

“เรามีหวังเสมอว่าจะได้กลับบ้าน” เสียงจากริมน้ำเมย ชะตากรรมที่เลือกไม่ได้ของผู้หนีภัยกะเหรี่ยง

101 ลงพื้นที่ริมแม่น้ำเมย อ.แม่สอด จ.ตาก สำรวจสถานการณ์ผู้หนีภัยสงครามชาวกะเหรี่ยงจากการสู้รบระลอกใหม่ที่ฝั่งรัฐกะเหรี่ยง

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

30 Jan 2022

column name

26 Jan 2022

ผู้อพยพของวิลเฮล์ม โมแบร์ค

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ โดย ปรีดี หงษ์สต้น พาไปทำความรู้จักกับงานเขียนและชีวิตของ วิลเฮล์ม โมแบร์ค นักเขียนสังคมนิยมชาวสวีเดนผู้ถ่ายทอดเรื่องเล่าของชนชั้นแรงงานและผู้อพยพในโศกนาฏกรรมเรือไททานิคอับปาง

ปรีดี หงษ์สต้น

26 Jan 2022

World

26 Jan 2022

101 One-on-One Ep.253 ‘1 ปี รัฐประหารพม่า’ กับ นฤมล ทับจุมพล

101 ชวน รศ.ดร.นฤมล ทับจุมพล อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมย้อนมอง-ถอดบทเรียนเหตุรัฐประหารพม่าตลอด 1 ปีที่ผ่านมา พร้อมมองเส้นทางอนาคตของพม่านับจากนี้

101 One-on-One

26 Jan 2022

World

26 Jan 2022

แก้ปัญหาวินัยจราจรแบบจีนแผ่นดินใหญ่

ธีรภัทร เจริญสุข เขียนถึงวิธีแก้ปัญหาวินัยจราจรจีนที่เคยเผชิญกับความไร้ระเบียบ สู่การแก้ปัญหาทางกายภาพให้สอดรับกับความปลอดภัยและกฎหมายเข้มงวด

ธีรภัทร เจริญสุข

26 Jan 2022

Asia

25 Jan 2022

107 ปี คานธีคืนถิ่นอินเดีย: ชาวอินเดียพลัดถิ่นจากโลกอาณานิคมสู่นโยบายอินเดียที่พึ่งพาตัวเองได้

ศิวศิลป์ จุ้ยเจริญ ชวนสำรวจการเดินทางของชาวอินเดียพลัดถิ่นจากอดีตถึงปัจจุบัน เพื่อร่วมฉลองวันประวาสี ภารติยะ อันเป็นวันระลึกถึงชาวอินเดียพลัดถิ่น และเป็นวันครบรอบการเดินทางกลับอินเดียของมหาตมะ คานธี

ศิวศิลป์ จุ้ยเจริญ

25 Jan 2022

World

20 Jan 2022

จับตาอนาคตไทยและโลก 2022 : จีน-สหรัฐ เดิมพันใหญ่ – ความหวังกลางวิกฤตเงินเฟ้อ – สมรภูมิเดือดเลือกตั้งไทย

เปิดวง Round Table ชวนสนทนาจับตาอนาคตไทยและโลกปี 2022 กับ อาร์ม ตั้งนิรันดร – ประจักษ์ ก้องกีรติ และพิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

กองบรรณาธิการ

20 Jan 2022

World

19 Jan 2022

เหลียว 2021 แล 2022: เศรษฐกิจ การเมือง และการต่างประเทศอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนมองย้อนการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างประเทศอินเดียในปี 2021 พร้อมมองความเคลื่อนไหวที่น่าจับตามองและอนาคตของอินเดียในปี 2022

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

19 Jan 2022

World

19 Jan 2022

World 2022 and Beyond: ‘แผนที่ใหม่’ ของเกมการเมืองโลกบนระเบียบโลกสองขั้วอำนาจ

ในวันที่โลกกำลังก้าวสู่จุดเปลี่ยนอีกครั้งในปี 2022 จิตติภัทร พูนขำ ฉายภาพความเปลี่ยนแปลงของ ‘แผนที่ใหม่’ ในเกมการเมืองโลกบนระเบียบโลกที่กำลังหวนคืนสู่ระบบสองขั้วอำนาจอีกครั้งและกำลังขยับขยายปริมณฑลการขับเคี่ยวไปสู่สนามเทคโนโลยี และสนามระบบคุณค่า มองความท้าทายจาก ‘การเปลี่ยนผ่านครั้งใหญ่’ ในมิติเชิงอำนาจ โลกทัศน์ โรคระบาด และพลังงานที่โลกจะต้องเผชิญ พร้อมทั้งมองยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยท่ามกลางกระแสลมแห่งการเปลี่ยนผ่าน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

19 Jan 2022

World

17 Jan 2022

กองทัพฟิลิปปินส์: แบบแผนการเล่นการเมืองภายใต้หลักการพลเรือนเป็นใหญ่

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงกองทัพฟิลิปปินส์ อ่านประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างกองทัพกับฝ่ายการเมือง หลักการ ‘พลเรือนเป็นใหญ่’ ดำรงอยู่จริงไหมในฟิลิปปินส์

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

17 Jan 2022

World

13 Jan 2022

อ่านปฏิวัติฝรั่งเศส อ่าน ‘ฐานันดรที่สามคืออะไร?’ (3 – ตอนสุดท้าย)

อติเทพ ไชยสิทธิ์ เขียนถึงอิทธิพลของหนังสือ ‘ฐานันดรที่สามคืออะไร’ ต่อการเปลี่ยนแปลงนิยามรัฐธรรมนูญในสังคมฝรั่งเศส

อติเทพ ไชยสิทธิ์

13 Jan 2022

World

12 Jan 2022

ฟองสบู่อสังหาริมทรัพย์ในจีน: วิกฤตพิสดาร

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง วิกฤตฟองสบู่อสังหาริมทรัพย์ในจีนจากกรณีหนี้เอเวอร์แกรนด์ ที่สะท้อนการเปลี่ยนนโยบายครั้งใหญ่ของจีนจาก ‘ไม่แตะภาคอสังหาริมทรัพย์’ มาเป็น ‘เจาะฟองสบู่ภาคอสังหาริมทรัพย์’ ด้วยตัวเอง ด้วยความพิเศษของระบบของจีนที่รัฐบาลควบคุมตลาดได้เต็มที่

อาร์ม ตั้งนิรันดร

12 Jan 2022

Asean

11 Jan 2022

เมืองของเซอร์คลิฟฟอร์ด

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง เล่าเรื่องเมืองกัวลา ลีปิส รัฐปะหัง ของมาเลเซีย ซึ่งเคยเป็นที่อยู่ของเซอร์คลิฟฟอร์ด อดีตข้าหลวงใหญ่ผู้มีบทบาทโลดแล่นในมลายาภายใต้จักรวรรดิอังกฤษ

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง

11 Jan 2022

Latin America

10 Jan 2022

บทบาทของกองกำลังกึ่งทหาร (Paramilitary) กับการสร้างความรุนแรง: กรณีศึกษาเมืองเมะเดยีน ประเทศโคลอมเบีย

เชาวฤทธิ์ เชาวแสงรัตน์ เล่าเรื่องราวของกองกำลังกึ่งทหาร (Paramilitary) ของโคลอมเบีย ที่มีส่วนเข้ามาสร้างความรุนแรงในเมืองเมะเดยีน จนเป็นเมืองที่ความรุนแรงสูงสุดในโลกในช่วงเวลาหนึ่ง

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

10 Jan 2022

World

7 Jan 2022

ระบบวรรณะในอเมริกามาได้อย่างไร?

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองปัญหาของสังคมอเมริกันปัจจุบันจากมุมมองประวัติศาสตร์ ท่ามกลางความสัมพันธ์ที่ไม่เท่าเทียมกันระหว่างสีผิวเชื้อชาติโดยเฉพาะผิวขาวกับผิวดำ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 Jan 2022
1 34 35 36 90

MOST READ

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save