fbpx

World

23 Mar 2023

การเลือกตั้งของกรีนแลนด์ กับอิสรภาพจากเดนมาร์ก

ในวาระที่ประเทศไทยกำลังเข้าสู่การเลือกตั้งใหญ่ คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ โดย ปรีดี หงษ์สต้น จึงชวนสำรวจการเลือกตั้งของกรีนแลนด์ ที่เป็นปัจจัยสำคัญในการปลดแอกจากเดนมาร์ก

ปรีดี หงษ์สต้น

23 Mar 2023

Asean

22 Mar 2023

ใครเป็นตัวเต็งตัวตึงในการเลือกตั้งอินโดนีเซีย 2024

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงการเลือกตั้งประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีของอินโดนีเซียที่กำลังจะมีขึ้นในปี 2024 กับ ‘ตัวเต็ง’ อันของเกมการเมือง ที่มีทั้งผู้เล่นหน้าใหม่น่าจับตา และผู้เล่นหน้าเก่าเก๋าเกม

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

22 Mar 2023

World

22 Mar 2023

A ‘New’ Cold War in the Arctic? ขยับขยายสมรภูมิภูมิรัฐศาสตร์สู่ขั้วโลกเหนือ

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง การแข่งขันและความร่วมมือในภูมิภาคอาร์กติกที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นในหมู่ ‘รัฐอาร์กติก’ และ ‘รัฐที่อยู่ใกล้อาร์ติก’ โดยเฉพาะระหว่างสหรัฐฯ รัสเซีย และจีน จนตกอยู่ในสภาวะสามขั้วอำนาจของสงครามเย็น

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

22 Mar 2023

Asean

21 Mar 2023

“เราพ่ายแพ้ต่อโฆษณาชวนเชื่อ” บทเรียนจากเลือกตั้งฟิลิปปินส์สู่เลือกตั้งไทย ในยุคข้อมูลเท็จระบาด

101 ถอดบทเรียนการต่อสู้ข้อมูลเท็จการเลือกตั้งฟิลิปปินส์ จากคนฟิลิปปินส์ผู้มีบทบาทในการต่อสู้ เพื่อย้อนมองประเทศไทยที่ใกล้เข้าสู่การเลือกตั้ง

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Mar 2023

World

20 Mar 2023

‘ฮีโร่ผู้กู้ชาติ’ หรือ ‘คนนอกของสังคม’? ปรากฏการณ์อคติทางเชื้อชาติต่อฟุตบอลทีมชาติฝรั่งเศส

อัยย์ลดา แซ่โค้ว เขียนถึง อคติทางเชื้อชาติต่อนักเตะทีมชาติฝรั่งเศสเชื้อสายผู้อพยพที่ยังคงอยู่ แม้ว่าพวกเขาจะเป็นจุดกำเนิดความยิ่งใหญ่ของทัพตราไก่และนำความสำเร็จมาสู่ฝรั่งเศสในสนามลูกหนังก็ตาม ซึ่งสะท้อนปัญหาการเหยียดเชื้อชาติในสังคมฝรั่งเศสและมรดกยุคอาณานิคมที่ยังไม่หายไปไหน

อัยย์ลดา แซ่โค้ว

20 Mar 2023

Asean

15 Mar 2023

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฉบับผู้แพ้ (4.2): จากฝรั่งเศสสู่สหรัฐอเมริกา — ชาติพันธุ์วรรณนาของชาวมงตาญญาร์กับสงครามอเมริกันในเวียดนาม

ณภัค เสรีรักษ์ เล่าภาคต่อของเรื่องราวชนกลุ่มน้อย ‘มงตาญญาร์’ ในเวียดนาม กับการต่อสู้เพื่อสิทธิในการปกครองตนเอง ท่ามกลางยุคสงครามเย็น

ณภัค เสรีรักษ์

15 Mar 2023

Thai Politics

15 Mar 2023

ใครเผา?.. อ้าวเราเอง! ว่าด้วยควันพิษข้ามพรมแดนมาเลเซีย-อินโดนีเซีย

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง เขียนถึงปัญหาควันพิษข้ามพรมแดนระหว่างมาเลเซีย-อินโดนีเซีย อันเกี่ยวโยงกับธุรกิจการเมืองเรื่องปาล์มน้ำมัน

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง

15 Mar 2023

World

15 Mar 2023

เขตทับซ้อนทางทะเลไทย-กัมพูชา, ชาตินิยมเป็นพิษอักเสบ

สุภลักษณ์​ กาญจนขุนดี เขียนถึงความคืบหน้าการเจรจาเรื่องข้อพิพาทอ้างสิทธิทับซ้อนกันบนเนื้อที่ประมาณ 26,000 ตารางกิโลเมตรในอ่าวไทย ระหว่างไทย-กัมพูชา แน่นอนว่าเสถียรภาพทางการเมืองภายในของไทยมีผลอย่างยิ่งต่อการบรรลุผลเรื่องนี้

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

15 Mar 2023

World

13 Mar 2023

Decoupling ระหว่างสหรัฐฯ และจีน: การถดถอยของโลกาภิวัตน์ และผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย

อาชนัน เกาะไพบูลย์ เขียนถึง ‘การแยกห่วงโซ่อุปทาน’ (decoupling) ระหว่างจีน-สหรัฐฯ อันมีจุดเริ่มต้นมาจากสงครามการค้า และทวีความรุนแรงขึ้นหลังวิกฤตโควิดและสงครามรัสเซีย-ยูเครน พร้อมทั้งประเมินผลกระทบต่อไทย

อาชนัน เกาะไพบูลย์

13 Mar 2023

World

9 Mar 2023

พรรคคุมรัฐ: ทิศทางใหม่การเมืองจีน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง แนวโน้มการปฏิรูประบบราชการและการจัดความสัมพันธ์กับพรรคคอมมิวนิสต์จีน ที่อาจเปิดให้สีจิ้นผิงมีอำนาจอย่างมากจนจีนตกอยู่ในสภาวะ ‘พรรคคุมรัฐ’

อาร์ม ตั้งนิรันดร

9 Mar 2023

Latin America

8 Mar 2023

ระบอบประชาธิปไตยในลาตินอเมริกา เหตุใดจึงก้าวหน้า?

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เล่าถึงปัจจัยทั้งในทางเศรษฐกิจและการเมือง ที่ทำให้ลาตินอเมริกามีประชาธิปไตยที่ก้าวหน้าในปัจจุบัน

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

8 Mar 2023

World

2 Mar 2023

หนึ่งปีของระเบียบโลกที่สุดขั้ว: ความระส่ำระสายอย่างเด็กไร้เดียงสา…ใครคือคนผิด

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์สงครามรัสเซียบุกยูเครนผ่านมุมมองประวัติศาสตร์ ซึ่งจะทำให้เข้าใจความคิดของปูตินมากขึ้นเมื่อมองรัสเซียในการเปลี่ยนผ่านแต่ละยุค

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

2 Mar 2023

Europe

1 Mar 2023

การต่อสู้ของสหภาพแรงงาน พลังต่อรองกับอำนาจรัฐสหราชอาณาจักร และระบบทุนที่ทรงอิทธิพล

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงการออกมาเรียกร้องค่าแรงของสหภาพแรงงาน หลังได้รับผลกระทบเศรษฐกิจฝืดเคืองจากล็อกดาวน์และสงครามรัสเซีย-ยูเครน

สมชัย สุวรรณบรรณ

1 Mar 2023

World

27 Feb 2023

ในวันที่ ‘อินเดีย’ จะมีประชากรมากที่สุดในโลก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ปรากฏการณ์การเพิ่มจำนวนประชากรของอินเดียจนอาจมีประชากรมากที่สุดในโลก ซึ่งจะเป็นปัจจัยที่เสริมให้อินเดียยกระดับการพัฒนาและก้าวกระโดดในเศรษฐกิจโลก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

27 Feb 2023

World

27 Feb 2023

1 ปีที่ยังไม่สิ้นสุดของสงครามรัสเซีย-ยูเครน กับ จิตติภัทร พูนขำ

สงครามดำเนินไปอย่างไรบ้างในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา? สงครามที่แปรเปลี่ยนไปเป็น ‘สงครามพร่ากำลัง’ จะยืดเยื้อต่อไปอีกนานแค่ไหน? ฉากทัศน์ต่อไปของสงครามคืออะไร? สงครามเปลี่ยนดุลอำนาจและสั่นสะเทือนระเบียบโลกไปอย่างไรบ้าง? 101 ชวน จิตติภัทร พูนขำ มอง 1 ปีของสงครามรัสเซีย-ยูเครน พร้อมมองทิศทางการเปลี่ยนแปลงของระเบียบโลกนับจากนี้

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

27 Feb 2023
1 15 16 17 90

MOST READ

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save