fbpx

World

5 Apr 2021

เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการเต้นกินรำกินแบบเกาหลีใต้

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง การเติบโตของอุตสาหกรรม ‘เต้นกินรำกิน’ ที่พาอดีตประเทศยากจนอย่างเกาหลีใต้ ไปไกลสู่การเป็นเจ้าวัฒนธรรมป๊อประดับโลก

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

5 Apr 2021

World

29 Mar 2021

Minari: เมล็ดพันธุ์เกาหลีใต้ กับการผลิดอกออกใบในอเมริกา

คอลัมน์ชาติพันธ์ฮันกุก จักรกริช สังขมณี เล่าเรื่องการอพยพย้ายถิ่นของชาวเกาหลีและกระบวนการปรับตัวตั้งรกรากสู่ความฝันแบบอเมริกันชน ผ่านภาพยนตร์ มินาริ (Minari; 미나리 2021) ภาพยนตร์ที่เข้าชิงรางวัลออสการ์ถึง 6 สาขาในปีนี้

จักรกริช สังขมณี

29 Mar 2021

World

26 Mar 2021

Silicon Valley of Asia เมื่ออินเดียกลายเป็นยักษ์ใหญ่ด้านไอที

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนย้อนมองเส้นทางสู่การเป็น ‘Silicon Valley of Asia ’ ของอินเดีย ตั้งแต่วันที่อินเดียยังคงเป็น ‘หลังบ้าน’ ของบรรษัทไอทีข้ามชาติชั้นนำ จนวันที่พัฒนากลายเป็น ‘ศูนย์กลาง’ ด้านไอทีระดับโลก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Mar 2021

Asia

25 Feb 2021

“White Tiger”: แบบจำลองระบบวรรณะ การเติบโตของเมือง และการเปลี่ยนผ่านสังคมอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เล่าถึง การเติบโตของสังคมและเศรษฐกิจอินเดีย ที่ค่อยๆ สลายระบบวรรณะลง ผ่านภาพยนตร์เรื่อง White Tiger

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

25 Feb 2021

Asia

17 Feb 2021

ขจัดให้หมดไปหรือจะคงไว้เพื่อการยับยั้ง: ญี่ปุ่นบนทางแพร่งนิวเคลียร์

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงสถานะย้อนแย้งที่กลายเป็น ‘ทางแพร่ง’ ของชาติต่างๆ ในเรื่องการเข้าร่วมความพยายามขจัดนิวเคลียร์ พร้อมทั้งเล่าถึงกรณีของ ‘ประเทศญี่ปุ่น’ ที่ต้องเผชิญเหตุผลสุดโต่งทั้งสองด้าน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

17 Feb 2021

Asia

28 Jan 2021

ประชาธิปไตยที่โอบรับอุดมการณ์ทางการเมืองอันหลากหลาย : สูตรไม่ลับฉบับอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญอินเดีย สูตร (ไม่) ลับทีโอบรับไว้ทั้งพรรคคอมมิวนิสต์และพรรคขวาฮินดูนิยม รวมทั้งอุดมการณ์ทางการเมืองอื่นๆ ที่ต่างกันอย่างสุดขั้วในสังคมอินเดียสามารถอยู่ร่วมกันได้มาอย่างยาวนาน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

28 Jan 2021

Asia

27 Dec 2020

เพื่อจักรพรรดิยังยืนยง ยามอัสดงแดนอาทิตย์อุทัย

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงกระบวนการที่ทำให้สถาบันจักรพรรดิอันเก่าแก่และอนุรักษนิยม คงอยู่ได้กับระบอบประชาธิปไตยซึ่งกลายเป็นแก่นคุณค่าใหม่ในสังคมญี่ปุ่นและในสากลโลกในยุคหลังสงคราม พร้อมทั้งสำรวจสถานะและบทบาทที่คลุมเครือของสถาบัน อันเกิดจากความพยายามประนีประนอมและ ‘หลอมรวมแบบญี่ปุ่น’

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

27 Dec 2020

Asia

24 Dec 2020

ความสัมพันธ์สหรัฐฯ-อินเดียในยุคไบเดน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนมองทิศทางความสัมพันธ์ระหว่างอินเดียและสหรัฐอเมริกา เมื่อทรัมป์กำลังลงจากตำแหน่งและไบเดนกำลังก้าวเข้ามารับช่วงต่อ ว่าจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างประเทศอย่างไรบ้าง

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

24 Dec 2020

Asia

16 Nov 2020

The QUAD พันธมิตรปิดล้อมจีน?

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ตอบคำถามคาใจว่า The QUAD เวทีความร่วมมือด้านความมั่นคงระหว่างญี่ปุ่น-อินเดีย-สหรัฐอเมริกา-ออสเตรเลียสร้างมาเพื่อปิดล้อมจีนจริงหรือไม่ รวมทั้งวิเคราะห์อนาคตของความร่วมมือนี้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

16 Nov 2020

Asia

11 Nov 2020

Start-up: ให้มันเริ่มใหม่ที่รุ่นเรา

#ชาติพันธุ์ฮันกุก ตอนใหม่ จักรกริช สังขมณี เขียนถึงซีรีส์ Start-up สะท้อนชีวิตของคนรุ่นใหม่ในเกาหลีที่แสวงหาแนวทางการประกอบอาชีพและการทำธุรกิจรูปแบบใหม่ และการพยายามหลีกหนีจากค่านิยมการทำงานในระบบเศรษฐกิจแบบเดิมที่อยู่ภายใต้กรอบความสัมพันธ์ของบริษัทขนาดใหญ่ที่เรียกว่า “แชบอล” (재벌)

จักรกริช สังขมณี

11 Nov 2020

Asia

25 Oct 2020

ปัญหากระบวนการยุติธรรมในคดีข่มขืนของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงปัญหาความอยุติธรรมในคดีข่มขืนที่เมืองฮาทาสในอินเดีย ซึ่งพัวพันกับปัญหาความเหลื่อมล้ำทางชนชั้นวรรณะและอคติทางเพศอย่างแยกไม่ออก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

25 Oct 2020

Asia

13 Oct 2020

เมื่อญี่ปุ่นเริ่มขบคิดเรื่องการติดอาวุธจู่โจม

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนอ่านเรื่องการติดอาวุธจู่โจม (strike capability) ในญี่ปุ่น – อะไรคือข้อจำกัดที่ทำให้ญี่ปุ่นไม่อาจคิดที่จะมีสมรรถนะด้านนี้มาก่อน และปัจจัยใดที่ทำให้ญี่ปุ่นเริ่มมองเรื่องการติดอาวุธจู่โจมเป็นตัวเลือกเชิงยุทธศาสตร์ในเวลานี้

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

13 Oct 2020

Asia

24 Sep 2020

อินเดียในสมรภูมิ New Normal

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์เบื้องหลังที่ส่งผลให้โควิด-19 ระบาดอย่างหนักในอินเดียตั้งแต่ต้นปีจนถึงปัจจุบัน และชี้ให้เห็นแสงปลายอุโมงค์ของวิกฤตครั้งนี้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

24 Sep 2020

Asia

9 Sep 2020

ญี่ปุ่นหลังยุคชินโซ อาเบะ กับ กิตติ ประเสริฐสุข

101 สนทนากับ รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติ ประเสริฐสุข รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ และอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกี่ยวกับญี่ปุ่นในยุคหลังชินโซ อาเบะ

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

9 Sep 2020

World

8 Sep 2020

อัฟกานิสถาน: ควันสงครามไม่เคยหายไป

อับดุรเราะฮหมาน มูเก็ม ชวนรู้จักดินแดนในหุบเขาอย่าง ‘ประเทศอัฟกานิสถาน’ และร่องรอยบาดแผลจากสงครามที่มหาอำนาจทิ้งไว้ในประเทศนี้

อับดุรเราะฮหมาน มูเก็ม

8 Sep 2020
1 8 9 10 14

MOST READ

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

World

29 Apr 2024

คิชิดะเยือนสหรัฐฯ: พลิกประวัติศาสตร์หน้าใหม่ หรือเพียงอ่อนไหวในปีผลัดผู้นำ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์การเยือนสหรัฐอเมริกาอย่างเป็นทางการครั้งแรกของนายกฯ ฟุมิโอะ คิชิดะ ท่ามกลางบรรยากาศโลกอันร้อนระอุด้วยความขัดแย้งหลายแนวหน้า การยกระดับยุทธศาสตร์ความมั่นคงร่วมกันของญี่ปุ่นและสหรัฐฯ สะท้อนนัยใดบ้างต่อระเบียบโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

29 Apr 2024

Asia

30 Apr 2024

ส่องสมรภูมิเลือกตั้งอินเดีย 2024: เส้นทางสู่นายกรัฐมนตรีสมัยที่ 3 ของโมดี?

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์การเลือกตั้งทั่วไปของอินเดียที่เริ่มขึ้นเมื่อ 19 เม.ย. ที่ผ่านมา ท่ามกลางความเป็นไปได้ที่พรรค BJP ของนายกฯ นเรนทรา โมดี จะกุมชัยชนะได้อีกครั้ง ตัวแสดงทางการเมืองอื่นๆ มีบทบาทอย่างไรต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ทางการเมืองอินเดียในการเลือกตั้งครั้งนี้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

30 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save