fbpx

World

21 Sep 2021

มองปรากฏการณ์คนสามจังหวัดภาคใต้เชียร์ตาลีบัน: สำนึกร่วมของผู้ถูกกดขี่ การปลดแอก และความหลากหลายในกลุ่มมุสลิม

สนทนากับอสมา มังกรชัย และรุสนันท์ เจ๊ะโซ๊ะ มองกระแสเชียร์ตาลีบันในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ อันสะท้อนสำนึกร่วมของผู้ถูกกดขี่ และความซับซ้อนของการเมืองเรื่องศาสนาในสังคมไทย

พิมพ์ชนก พุกสุข

21 Sep 2021

World

20 Sep 2021

ประชาธิปไตยไร้รัฐ: ณ ที่นี้ ประชาชนออกคำสั่งและรัฐบาลเชื่อฟัง

ชวนทำความเข้าใจ ‘สังคมประชาธิปไตยไร้รัฐ’ ผ่านการพูดคุยกับ ภัควดี วีระภาสพงษ์ นักแปลผู้สนใจศึกษาแนวคิดอนาธิปไตย และเฮวาล ทาคุชิน สมาชิกฝ่ายการทูตจากเขตปกครองตนเอง AANES หรือ โรจาวา

วริษา สุขกำเนิด

20 Sep 2021

World

8 Sep 2021

“การลงทุนมีความเสี่ยง” เหตุไฉน จีนถึงกล้าลงทุนในอัฟกานิสถาน?

วันมิ่งขวัญ กำเนิดรัตน์ วิเคราะห์ว่าทำไมจีนถึงกล้าลงทุนในอัฟกานิสถานที่ไม่มีเสถียรภาพ และการกลับมาของตาลีบันจะส่งผลต่อการลงทุนของจีนอย่างไร

วันมิ่งขวัญ กำเนิดรัตน์

8 Sep 2021

World

25 Aug 2021

‘อัฟกานิสถานในความเปลี่ยนแปลง’ กับ ดวงยิหวา อุตรสินธุ์

การหวนคืนสู่อำนาจอีกครั้งของตาลีบันจะเปลี่ยนแปลงชะตากรรมของอัฟกานิสถานไปอย่างไร และส่งผลสะเทือนถึงภูมิรัฐศาสตร์โลกอย่างไร 101 ชวน ดวงยิหวา อุตรสินธุ์ อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก วิทยาเขตอาบูดาบี ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มาพูดคุยในเรื่องนี้

กองบรรณาธิการ

25 Aug 2021

World

16 Aug 2021

การกลับมามีอำนาจของตาลีบันในอัฟกานิสถาน: ความเปลี่ยนแปลงในเครื่องหมายคำถาม?

หลังการประกาศยึดกรุงคาบูลของกลุ่มตาลีบัน ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ต้นธารความขัดแย้งในอัฟกานิสถานที่นำไปสู่การกลับขึ้นมามีอำนาจอีกครั้งของกลุ่มตาลีบัน พร้อมทั้งมองฉากทัศน์ความเป็นไปได้ของอัฟกานีสถานในอนาคต

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

16 Aug 2021

Asia

6 Aug 2021

ญี่ปุ่นกับความท้าทาย เมื่อพระอาทิตย์กำลังขึ้นทางทิศตะวันตก

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง ความท้าทายทางสังคมที่ญี่ปุ่นกำลังเผชิญและต้องก้าวข้าม จากทั้งสังคมสูงวัย ระบบอาสุโส วัฒนธรรมการทำงานหนัก วัฒนธรรมรวมหมู่ จนไปถึงสังคมชายเป็นใหญ่

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

6 Aug 2021

World

21 Jul 2021

จากในรัฐสู่ระหว่างประเทศ: บทบาทของรัฐบาลระดับรัฐในการกำหนดนโยบายต่างประเทศอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง บทบาทของ ‘รัฐบาลระดับรัฐ’ ของอินเดียในการกำหนดนโยบายการต่างประเทศ ซึ่งมีสาเหตุมาจากความเป็นรัฐบาลผสมและการเปิดกว้างทางเศรษฐกิจ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

21 Jul 2021

World

20 Jul 2021

นรกไม่ใช่สถานที่แต่คือผู้คน: สำรวจนรกโชซ็อนของหนุ่มสาวเกาหลี

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม ชวนสำรวจ ‘นรกโชซ็อน’ ของหนุ่มสาวเกาหลีใต้ผ่านพัฒนาการทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม เหตุใดประเทศที่เป็นเมืองฟ้าเมืองสวรรค์ของใครหลายๆ คนกลับกลายเป็นนรกของผู้อยู่?

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

20 Jul 2021

World

25 Jun 2021

เศรษฐกิจโยคะ เมื่ออินเดียส่งออกวัฒนธรรม

ศุภวิชญ์ แก้งคูนอก เขียนถึง เส้นทางของ ‘เศรษฐกิจโยคะ’ ที่พัฒนาจากแนวทางการบริหารกายและจิต และจนไปสู่ อุตสาหกรรมที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจระดับมหาศาลให้กับอินเดีย รวมทั้งช่วยสร้างภาพลักษณ์อินเดียในฐานะผู้นำด้านการบริการทางสุขภาพ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

25 Jun 2021

Life & Culture

9 Jun 2021

ความนิยมเยอรมันใน ‘ปรัสเซียแห่งบูรพาทิศ’

อ่านความสัมพันธ์ระหว่างญี่ปุ่นกับเยอรมัน ที่เกาะเกี่ยวโยงใยกันอย่างแน่นแฟ้นจนกำเนิดยุคแห่ง ‘ความนิยมเยอรมัน’ ในญี่ปุ่นช่วงปี 1880 และส่งผลมาถึงปัจจุบัน

ชลิดา หนูหล้า

9 Jun 2021

World

17 May 2021

อินเดีย: จากประเทศผู้ผลิตวัคซีน สู่วิกฤตโควิด-19 ระลอกใหม่

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง สาเหตุการระบาดหนักของโควิด-19 ในอินเดีย อันเป็นผลมาจากระบบ-ระเบียบราชการที่ติดขัด ไม่ยืดหยุ่นตามสถานการณ์ฉุกเฉินและการเมืองระหว่างรัฐบาลกลางและรัฐบาลระดับรัฐ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

17 May 2021

World

3 May 2021

Digital India ก้าวสู่สังคมออนไลน์ที่ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เล่าถึง การเปลี่ยนผ่านไปสู่สังคมดิจิทัลของอินเดียภายใต้นโยบาย ‘Digital India’ ที่ช่วยไม่ให้อินเดียหลุดออกจากกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและพาคนอินเดียก้าวเดินไปสู่โลกแห่งอนาคตอย่างเท่าเทียม

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

3 May 2021

World

26 Apr 2021

เกมการยั่วแหย่ในยุทธศาสตร์ข้อพิพาททะเลจีน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงกลวิธีสีเทาที่จีนกำลังใช้เพื่อบรรลุเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ นั่นคือการ ‘ยั่วแหย่’ ทางทะเลต่อชาติคู่อริในทะเลจีน โดยมองญี่ปุ่นเป็นกรณีศึกษา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

26 Apr 2021

World

5 Apr 2021

เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการเต้นกินรำกินแบบเกาหลีใต้

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง การเติบโตของอุตสาหกรรม ‘เต้นกินรำกิน’ ที่พาอดีตประเทศยากจนอย่างเกาหลีใต้ ไปไกลสู่การเป็นเจ้าวัฒนธรรมป๊อประดับโลก

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

5 Apr 2021

World

29 Mar 2021

Minari: เมล็ดพันธุ์เกาหลีใต้ กับการผลิดอกออกใบในอเมริกา

คอลัมน์ชาติพันธ์ฮันกุก จักรกริช สังขมณี เล่าเรื่องการอพยพย้ายถิ่นของชาวเกาหลีและกระบวนการปรับตัวตั้งรกรากสู่ความฝันแบบอเมริกันชน ผ่านภาพยนตร์ มินาริ (Minari; 미나리 2021) ภาพยนตร์ที่เข้าชิงรางวัลออสการ์ถึง 6 สาขาในปีนี้

จักรกริช สังขมณี

29 Mar 2021
1 7 8 9 13

MOST READ

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

Asia

26 Mar 2024

เลือกตั้งอินเดีย 101: ศึกแห่งอำนาจของประเทศประชาธิปไตยใหญ่ที่สุดในโลก

ก่อนประชาชนชาวอินเดียเกือบ 1,000 ล้านคนจะเข้าคูหาเลือกตั้งในเดือนเมษายนที่จะถึงนี้ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองและระบบการเลือกตั้งของอินเดียที่แตกต่างจากการเลือกตั้งใดในโลกนี้ที่เราคุ้นเคย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Mar 2024

Asia

29 Mar 2024

‘เกาหลีอาจไม่ใช่สวรรค์ของแรงงานข้ามชาติ’ สำรวจความทุกข์ร้อนของนักล่าเงินวอนในดินแดนที่รัฐไม่เหลียวแล

จากประเด็นผีน้อยที่ไม่เคยหายไปจากหน้าปัดสื่อไทย 101 ชวนเปิดไปสู่ประเด็นที่ใหญ่กว่า ว่าด้วยนโยบายต่อแรงงานข้ามชาติของเกาหลีใต้ สำรวจความทุกข์ยากของแรงงานในรัฐบาล ‘ขวาจัด’ พร้อมพูดคุยกับสหภาพแรงงานข้ามชาติในเกาหลีถึงเส้นทางการต่อสู้กับรัฐและนายจ้าง

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

29 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save