fbpx

World

1 May 2023

[Advertorial] เมื่อผู้ใช้สื่อเป็นศูนย์กลางการสื่อสารในโลกออนไลน์: เปิดเทรนด์โลกออนไลน์ปี 65 สู่ทิศทางการสื่อสารปี 66

เปิดบทวิเคราะห์การสื่อสารออนไลน์ของสังคมไทยในปี 65 สู่ทิศทางการสื่อสารออนไลน์ ปี 66 อะไรคือโอกาสและข้อจำกัดของการสื่อสารในโลกออนไลน์ จะทำอย่างไรเพื่อส่งเสริมการพัฒนานิเวศสื่อที่สร้างสรรค์และยั่งยืน

กองบรรณาธิการ

1 May 2023

World

27 Apr 2023

คงจะไม่มีตัวแบบการเมืองนอร์ดิคตายตัว

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ ประจำเดือนนี้ ปรีดี หงษ์สต้น ชวนสำรวจโลกการเมืองในนอร์เวย์ และประชาธิปไตยสมัยใหม่ที่ไม่ใช่ว่าได้มาโดยง่าย

ปรีดี หงษ์สต้น

27 Apr 2023

World

27 Apr 2023

ญี่ปุ่น G7 กับการเป็นประเทศกลุ่มผู้นำโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ญี่ปุ่นกับการเป็นเจ้าภาพการประชุม G7 ที่เป็นทั้งโอกาสในการผลักดันวาระสันติภาพเพื่อเตือนใจผู้นำโลกในฐานะเหยื่อนิวเคลียร์รายแรกและรายเดียวของโลก และเป็นทั้งแรงกดดันให้ญี่ปุ่นในฐานะมหาอำนาจสายพลเรือนมีพฤติกรรมตามมาตรฐานของมหาอำนาจ ที่ในเวลานี้ที่วาระโลกอยู่ที่สงครามรัสเซีย-ยูเครนและประเด็นความมั่นคง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

27 Apr 2023

World

27 Apr 2023

“เราไม่สามารถชนะสงครามด้วยกวีนิพนธ์ แต่กวีเป็นประจักษ์พยานต่อสงครามได้” ‘เซอร์ฮี ซาดาน’ กวียูเครนผู้ต่อต้านจักรวรรดินิยมรัสเซีย

ไกรวรรณ สีดาฟอง เขียนถึง เรื่องราวของ ‘เซอร์ฮี ซาดาน’ นักเขียนยูเครนผู้สะท้อนภาพความพลิกผันอย่างรุนแรงและความสามัญธรรมดาที่ดำเนินไปของชีวิตผู้คนเมื่อสงครามและการทำลายล้างเข้ามาสู่โลก ผ่านผลงานนวนิยาย ความเรียง บทกวีและบทเพลง และเชื่อว่า นักเขียนมีบทบาทสำคัญในการต่อสู้กับท่าทีอาณานิคมของรัสเซีย โดยการสร้างอัตลักษณ์ของประเทศผ่านศิลปะ

ไกรวรรณ สีดาฟอง

27 Apr 2023

World

26 Apr 2023

ส่อง กกต. อินโดนีเซีย เขาทำงานอย่างไร โดนวิพากษ์วิจารณ์เรื่องไหนบ้าง

ช่วงโค้งสุดท้ายของการเลือกตั้ง อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงบรรยากาศการเลือกตั้งและการทำงานของ กกต. ในอินโดนีเซีย ที่สร้างปรากฏการณ์อื้อฉาวทั้งคอรัปชัน ทั้งไปดูงานต่างประเทศ จนถูกวิพากษ์วิจารณ์ครั้งใหญ่

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

26 Apr 2023

Global Affairs

25 Apr 2023

ความเป็นจริงข้างไหน?

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เสนอหลักคิดในการเริ่มต้นอ่านทฤษฎีการเมืองระหว่างประเทศ เพื่อหาคำตอบว่าเราจะศึกษาทฤษฎีที่เต็มไปด้วยความอลหม่านอย่างไร

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

25 Apr 2023

World

24 Apr 2023

‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ในมุมทูตยุโรป: 1 ปีที่สันติภาพยังคงเลือนราง

ตลอดกว่า 1 ปีที่ผ่านมา ยุโรปมองสงครามรัสเซีย-ยูเครนอย่างไร? สงครามได้เปลี่ยนยุโรปไปอย่างไรบ้าง? สงครามจะเป็นอย่างไรต่อไป? และอะไรที่จะเปิดโอกาสให้สันติภาพเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง? 101 ชวนอ่าน ‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ผ่านมุมมองของทูตสหภาพยุโรป โปแลนด์ เยอรมนี และฟินแลนด์

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

24 Apr 2023

Asean

19 Apr 2023

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฉบับผู้แพ้ (5): ความพ่ายแพ้ของชาวอัมบนคริสเตียน บนความย้อนแย้งของเอกราชในอินโดนีเซีย

ณภัค เสรีรักษ์ เล่าเรื่องราวของชาวอัมบนคริสเตียน กับการเคลื่อนไหวเรียกร้องเอกราชจากอินโดนีเซีย ที่ยังสืบเนื่องมาถึงปัจจุบัน

ณภัค เสรีรักษ์

19 Apr 2023

ASEAN บ่มีไกด์

19 Apr 2023

ASEAN บ่มีไกด์ Ep.19: ปิดตำนาน ‘ลิตเติลไทยแลนด์’ ในสิงคโปร์ กับ สุเจน กรรพฤทธิ์

ASEAN บ่มีไกด์ ชวนสำรวจและย้อนรำลึกลิตเติลไทยแลนด์ในสิงคโปร์ ที่ต้องปิดตัวลงในเดือนพฤษภาคม 2023 หลังอยู่มายาวนานเกือบ 50 ปี

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

19 Apr 2023

World

18 Apr 2023

ซอฟต์พาวเวอร์สู่การเซนเซอร์: ย้อนมองพัฒนาการสื่อบันเทิงสไตล์พรรคคอมมิวนิสต์จีน

ย้อนมองพัฒนาการของสื่อบันเทิงจีนในฐานะเครื่องมือในการสร้างโฆษณาชวนเชื่อเพื่อเผยแพร่อุดมการณ์ทางการเมืองของพรรคคอมมิวนิสต์จีน ไปจนถึงการเซนเซอร์ซีรีส์วายที่ครั้งหนึ่งเคยเป็น ‘ซอฟต์พาวเวอร์’ สร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาลให้กับประเทศจีน

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

18 Apr 2023

World

18 Apr 2023

ส่องนโยบายการค้าการลงทุนประเทศคู่แข่งไทย ท่ามกลางสมรภูมิสงครามการค้าสหรัฐฯ กับจีน

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์ เขียนถึง การปรับนโยบายการค้าและการลงทุนของประเทศต่างๆ ในเอเชีย เช่น เวียดนาม อินเดีย เพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ หลังสงครามการค้าระหว่างจีน-สหรัฐฯ นำไปสู่ความตึงเครียดและความเสี่ยงในการลงทุนที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งการปรับนโยบายของจีนเพื่อรับมือต่อสงครามการค้า

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์

18 Apr 2023

World

12 Apr 2023

หมอกควันอาเซียน: วิกฤตตามฤดูกาลและ knee jerk solution

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงปัญหาหมอกควันในอาเซียน ที่แม้จะมีความพยายามสร้างความร่วมมือในการแก้ปัญหา แต่ดูเหมือนยังไม่มีอะไรเกิดขึ้นเป็นรูปธรรม

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

12 Apr 2023

World

11 Apr 2023

ไต้หวันกับสองการเดินทาง

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ทางแยกระหว่างไต้หวันที่สืบมาจากสาธารณรัฐจีนในอดีตกับไต้หวันที่ไม่ยึดโยงตัวเองกับจีนแผ่นดินใหญ่ ท่ามกลางบริบทที่เหมือนจะบีบให้ไต้หวันต้องเลือกในไม่ช้านี้

อาร์ม ตั้งนิรันดร

11 Apr 2023

Life & Culture

11 Apr 2023

อ่านจีนให้รู้จัก

แมท ช่างสุพรรณ เขียนถึงหนังสือ ‘เขียนจีนให้เป็นไทย’ ของสิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์ ที่ตีแผ่การเปลี่ยนแปลงของอัตลักษณ์จีนจากความเป็นอื่นสู่ความเป็นไทย

แมท ช่างสุพรรณ

11 Apr 2023

Asean

11 Apr 2023

‘Thai Hot Guys’ เมื่อหนุ่มฮ็อตจากเมืองไทย ฮ็อตเกินไปในมาเลเซีย

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง เล่าถึงกรณีการยกเลิกการแสดง Thai Hot Guys ในมาเลเซีย ซึ่งสะท้อนภาพการกดปราบคน LGBT ในประเทศ

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง

11 Apr 2023
1 14 15 16 90

MOST READ

Interviews

5 May 2024

สวนกล้วยของคนจีน-ชีวิตอาบสารเคมีของคนลาว: เสถียร ฉันทะ

101 คุยกับ ผศ.ดร.เสถียร ฉันทะ ผู้ทำวิจัยเรื่องสวนกล้วยจีนในลาวและพม่า ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นและการคืบคลานของสวนกล้วยจีนที่ขยายไปในลุ่มน้ำโขง อย่างพม่าและกัมพูชา

วจนา วรรลยางกูร

5 May 2024

Asean

1 May 2024

‘ลี เซียนลุง’ สู่ ‘ลอว์เรนซ์ หว่อง’ : การสืบทอดอำนาจสู่ผู้นำรุ่น 4 ในยุคที่การรักษาอำนาจการเมืองสิงคโปร์ไม่ง่ายเหมือนเคย

101 วิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านอำนาจของสิงคโปร์สู่ผู้นำรุ่นที่ 4 ‘ลอว์เรนซ์ หว่อง’ ในวันที่พรรค PAP ที่ผูกขาดอำนาจมานาน อาจรักษาอำนาจยากขึ้น

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 May 2024

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save