fbpx

Law

30 Sep 2020

กฎหมายที่ไม่ใช่เครื่องจักรกล และนักกฎหมายที่ไม่ใช่นายช่างประจำเครื่อง

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เขียนถึงปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้กฎหมาย โดยเฉพาะในคดีที่มีความคลุมเครือ จนต้องอาศัยปัจจัยอื่นในการตีความกฎหมาย

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

30 Sep 2020

Law

21 Sep 2020

ทางออกกรณีคำสั่งไม่ฟ้องคดีของอัยการที่ผิดพลาด

ปกป้อง ศรีสนิท ชวนสำรวจทางออกกรณีคำสั่งไม่ฟ้องคดีอาญาผิดพลาดผ่านหลักการและแนวปฏิบัติในระบบกฎหมายฝรั่งเศส เยอรมนี และอังกฤษ

ปกป้อง ศรีสนิท

21 Sep 2020

Law

17 Sep 2020

Justice Next Challenges: ความท้าทายใหม่ของระบบยุติธรรมไทย กับ กิตติพงษ์ กิตยารักษ์

สำรวจความท้าทายใหม่ของระบบยุติธรรมไทย รวมถึงหาวิธียกระดับธรรมาภิบาลและฟื้นฟูหลักนิติธรรม กับ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม ผู้ผลักดันการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมไทยมาอย่างต่อเนื่อง

กองบรรณาธิการ

17 Sep 2020

Interviews

7 Aug 2020

‘เปิดศาลสู่สาธารณะ – ดึงคนออกจากคุก – สร้างความยุติธรรมยั่งยืน’ : หนึ่งปีบนเก้าอี้ประธานศาลฎีกาของ ‘ไสลเกษ วัฒนพันธุ์’

101 สนทนากับ ‘ไสลเกษ วัฒนพันธุ์’ ถึงแนวคิด ชีวิต และการทำงานในตำแหน่งประธานศาลฎีกา – ศาลและผู้พิพากษาต้องปรับตัวในโลกยุคใหม่อย่างไร ประชาชนมีส่วนร่วมตรวจสอบศาลได้อย่างไร เทคโนโลยีใหม่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพศาลอย่างไร และศาลเรียนรู้อะไรบ้างจากกรณีคณากร เพียรชนะ และบ้านป่าแหว่ง

กองบรรณาธิการ

7 Aug 2020

Law

7 Aug 2020

‘ประวัติศาสตร์ตาบอด’ ของบิดาแห่งกฎหมายไทย  

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึง ประวัติศาสตร์บางแง่มุมของพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ บิดาแห่งกฎหมายไทย ในฐานะปุถุชนคนหนึ่ง

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

7 Aug 2020

Interviews

31 Jul 2020

มุนินทร์ พงศาปาน: นักกฎหมายต้องลั่นระฆัง เมื่อความยุติธรรมถูกล้ำเส้น

วจนา วรรลยางกูร สนทนากับ รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน ถึงการสอนนิติศาสตร์ในสภาพสังคมปัจจุบัน การฝึกฝนทางวิชาชีพ ระบบสอบผู้พิพากษา จนถึงการสร้างนักกฎหมายที่สร้างความเป็นธรรมให้สังคม

วจนา วรรลยางกูร

31 Jul 2020

Life & Culture

22 Jul 2020

ทำแท้งไม่ใช่อาชญากรรม: สำรวจเส้นทางและอุปสรรคของสิทธิการทำแท้ง

สนทนากับผู้ทำงานด้านสิทธิในการทำแท้ง ทัศนัย ขันตยาภรณ์ และนิศารัตน์ จงวิศาล ถึงเส้นทางการขับเคลื่อนประเด็นตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน ประสบการณ์จริงและบางเรื่องราวที่ได้สัมผัสจากผู้หญิงที่ต้องการทำแท้ง พร้อมกับเจาะลึกอุปสรรครอบด้านที่ขัดขวางสิทธิการทำแท้งถูกกฎหมายในประเทศไทย

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

22 Jul 2020

Law

24 Jun 2020

เมื่อรัฐธรรมนูญเสื่อมทราม

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เขียนถึงภาวะ ‘ความเสื่อมทรามของรัฐธรรมนูญ’ เมื่อผู้มีอำนาจพยายามรื้อถอนทำลายกฎเกณฑ์และกลไก จนรัฐธรรมนูญกลายเป็นเครื่องมือใช้อ้างว่าเป็นที่มาอันชอบด้วยกฎหมาย

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

24 Jun 2020

Law

24 Jun 2020

รัฐธรรมนูญคณะราษฎรในประวัติศาสตร์ (กฎหมาย) กษัตริย์นิยม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนย้อนมองประวัติศาสตร์กฎหมายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากรัฐธรรมนูญยุคคณะราษฎร (2475-2489) สู่การ ‘รื้อสร้าง’ ความหมายโดยฝ่ายกษัตริย์นิยมหลังรัฐประหาร 2490

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

24 Jun 2020

Law

19 Jun 2020

“อุ้มหาย: ไม่มีศพ ไม่มีกฎหมาย ไม่มีความรับผิด” กับ ปกป้อง ศรีสนิท

101 พูดคุยกับ รศ.ดร.ปกป้อง ศรีสนิท ผู้ศึกษาเรื่องอุ้มหายในกฎหมายระหว่างประเทศ และเคยร่วมยกร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหาย

วจนา วรรลยางกูร

19 Jun 2020

Asean

8 Jun 2020

72 ชั่วโมงก่อนการมีตัวตน: เมื่อเด็กหนึ่งคนเกิดในไทย

สูติบัตรเสมือนเครื่องยืนยันตัวตนแรกๆ ของคนเราก่อนจะได้สิทธิต่างๆ ตามมา แต่ไม่ใช่เด็กทุกคนที่จะเข้าถึงกระบวนการได้สูติบัตรมาอย่างง่าย

รัศมิ์ลภัส กวีวัจน์

8 Jun 2020

Law

22 May 2020

สุขภาพ vs. เสรีภาพ สำรวจสิทธิคนไทย ยุคโควิด-19 กับ ศิริกาญจน์ เจริญศิริ

101 พูดคุยกับ ศิริกาญจน์ เจริญศิริ ถึงสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในยุคโควิด-19 ทั้งในไทยและต่างประเทศ

วจนา วรรลยางกูร

22 May 2020

Law

20 May 2020

Immediacy: สิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (ที่หายไป)

ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึง หลักผู้พิพากษาต้องสัมผัสพยาน ซึ่งถูกรับรองว่าเป็นส่วนหนึ่งของสิทธิมนุษยชน แต่เป็นสิ่งที่หายไปจากกระบวนการยุติธรรมไทย

ปกป้อง ศรีสนิท

20 May 2020

Law

25 Mar 2020

โมงยามแห่งรัฐธรรมนูญจากประชาชน

เงื่อนไขใหญ่สำหรับ เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ที่เห็นว่าจะนำไปสู่การแก้ไขรัฐธรรมนูญได้ คือ ‘โมงยามแห่งรัฐธรรมนูญ’ อันเป็นห้วงเวลาที่ประชาชนแสดงสัญญาณว่าต้องการความเปลี่ยนแปลง

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

25 Mar 2020
1 10 11 12 16

RECOMMENDED

Law

4 Apr 2024

“การจำกัดเสรีภาพการชุมนุม เหมือนสร้างเขื่อนกั้นน้ำ” มองกฎหมายชุมนุมสาธารณะ เมื่อสิทธิมนุษยชนแบบไทยๆ เป็นปัญหา กับ พัชร์ นิยมศิลป

101 คุยกับ ดร.พัชร์ นิยมศิลป ถึงความสำคัญของเสรีภาพการชุมนุม และปัญหาการจำกัดเสรีภาพการชุมนุมภายใต้กฎหมายไทย เมื่อสิทธิมนุษยชนแบบไทยๆ อาจเป็นปัญหา

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

4 Apr 2024

Phenomenon

5 Apr 2024

ค่าจ้างขั้นต่ำกับคุณภาพความเป็นคน

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนคิดเรื่องการปรับขึ้น ‘ค่าจ้างขั้นต่ำ’ ที่ไม่ใช่แค่ประเด็นระดับจุลภาค แต่เกี่ยวโยงอย่างไรถึงโครงสร้างสังคมวัฒนธรรมไทย และเพราะอะไรการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำจะทั้งช่วยสร้างกลไกการแข่งขันที่เป็นธรรมและส่งเสริม ‘เสรีนิยม’ ทางเศรษฐกิจอย่างที่ควรจะเป็น

โตมร ศุขปรีชา

5 Apr 2024

Public Policy

29 Apr 2024

อ่านอนาคต เคาะโจทย์ ‘แพลตฟอร์ม’ ทำอย่างไรให้เติบโตได้ โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง

101 ชวนตีโจทย์เศรษฐกิจแพลตฟอร์มในยุคที่เศรษฐกิจดิจิทัลไทยเติบโตอย่างรวดเร็ว หาคำตอบร่วมกับผู้เชี่ยวชาญว่าโอกาสของเศรษฐกิจแพลตฟอร์มเหล่านี้จะนำไปสู่โอกาสแห่งชีวิตผู้คนในสังคมได้อย่างเป็นธรรมหรือไม่และอย่างไร

กรกมล ศรีวัฒน์

29 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save