fbpx

Science & Innovation

14 May 2019

การฝังไมโครชิพให้พนักงานบริษัทจำเป็นจริงหรือ?

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงความเป็นไปของการฝังไมโครชิพในตัวพนักงานของบริษัทในต่างประเทศ พร้อมชวนตั้งคำถามถึง ความเป็นส่วนตัว และความจำเป็นของเทคโนโลยีล้ำสมัยนี้

โสภณ ศุภมั่งมี

14 May 2019

Science & Innovation

26 Apr 2019

คน vs หุ่นยนต์ : ความหวังและข้อกังวลบนโลกอนาคต

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล เล่าถึงหุ่นยนต์ ปัญญาประดิษฐ์ และการเปลี่ยนแปลงในอนาคต-ความเป็นไปได้ที่เครื่องจักรจะทดแทนมนุษย์

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

26 Apr 2019

Science & Innovation

9 Apr 2019

Social Media ทำให้เราชินชากับข่าวเลวร้าย – เรื่องราวหวาดกลัวที่มากเกินไป ทำให้กลายเป็นเรื่องธรรมดาและไม่สำคัญ?

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงการใช้โซเชียลมีเดียรับมือกับข่าวร้าย เช่น การกราดยิงผู้คนในโรงเรียน เราจะอยู่อย่างไรในโลกที่ข่าวร้ายเกิดขึ้นทุกวันจนเราชินชา

โสภณ ศุภมั่งมี

9 Apr 2019

Science & Innovation

8 Apr 2019

FUTURE BABY ทารกแห่งอนาคต : ในนามแห่ง ‘บุตร’ ในสายตาของคนรุ่นใหม่

เก็บความจากงานฉายภาพยนตร์สารคดีเรื่อง ‘FUTURE BABY’ ผลงานของ Maria Arlamovsky ผู้กำกับชาวออสเตรีย ที่ชวนเด็กอายุ 15-24 ปี มาระดมความคิดว่าด้วยการมีลูกในอนาคตที่มีเทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อน

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

8 Apr 2019

Science & Innovation

25 Mar 2019

คนสมัยใหม่กับอินเทอร์เน็ต

จิตรทัศน์ ฝักเจริญผล เขียนถึงพฤติกรรมการใช้โซเชียลมีเดียของคนรุ่นใหม่ ตั้งแต่การหายตัวไป (ghosting) การโคจรอยู่รอบตัว (orbiting) ไปจนการเลือกใช้แพลตฟอร์มที่แตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

25 Mar 2019

Life & Culture

7 Mar 2019

เมื่อผลการค้นหาจาก Facebook มีอคติทางเพศ – ไม่ใช่ความผิดพลาดของวิศวกรแต่เป็นบางอย่างที่มาจากผู้ใช้งาน

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงอคติทางเพศที่ปรากฏในฟีเจอร์ Facebook Search เมื่อรูปผู้หญิงใส่บิกินี่ กลายเป็นสิ่งที่เฟซบุ๊กเดาว่าเราจะเสิร์ช สิ่งเหล่านี้สะท้อนอะไร

โสภณ ศุภมั่งมี

7 Mar 2019

Life & Culture

22 Feb 2019

การตลาดเบื้องหลังบริการบนอินเทอร์เน็ต

จิตรทัศน์ ฝักเจริญผล เขียนถึงการตลาดเบื้องหลังผู้ให้บริการบนอินเทอร์เน็ต อย่างเฟซบุ๊ก กูเกิ้ล และทวิตเตอร์ ซึ่งดูเหมือนว่าจะเป็น ‘ของฟรี’ ทว่าแฝงด้วยการตลาดที่แยบยล โดยมี ‘ข้อมูลผู้ใช้’ เป็นหัวใจในการหารายได้

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

22 Feb 2019

Science & Innovation

12 Feb 2019

15 ปีแห่งความหลัง : Facebook ยังเติบโตต่อไปได้อีกไหม?

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึง 15 ปีที่ผ่านมาของ Facebook จากเว็บไซต์เล็กๆ ที่คนมองข้าม ตอนนี้ได้กลายเป็นแพลตฟอร์มขนาดใหญ่ที่ส่งผลต่อผู้คน ทั้งวิถีชีวิตและแนวคิดทางสังคมการเมือง ช่วงที่ผ่านมาดีหรือร้ายอย่างไร และจะก้าวไปในทิศทางไหน

โสภณ ศุภมั่งมี

12 Feb 2019

Science & Innovation

25 Jan 2019

เครือข่ายสังคมกับข่าวปลอม

จิตรทัศน์ ฝักเจริญผล เขียนถึงกระบวนการสร้างและเผยแพร่ ‘ข่าวปลอม’ (fake news) ซึ่งนับวันยิ่งแยบยล และส่งผลต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของเรามากขึ้นเรื่อยๆ

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

25 Jan 2019

Science & Innovation

15 Jan 2019

Scientific Myths – เรื่องเข้าใจผิดทางวิทยาศาสตร์ ไม่ต้องคิดเหมือนกัน แค่ขอให้ ‘คิด’ ก่อนแค่นั้นพอ

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงวิธีการรับมือกับความเชื่อผิดๆ ทางวิทยาศาสตร์ของคนใกล้ตัว เช่น ยังมีคนเชื่อว่า “HIV ไม่ได้ทำให้เกิด AIDS” “อาหาร GMO นั้นไม่ปลอดภัย ห้ามกิน” “การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศเป็นเรื่องแต่งให้คนเชื่อเท่านั้น” ฯลฯ เราจะบอกเพื่อนอย่างไรให้เข้าใจ

โสภณ ศุภมั่งมี

15 Jan 2019

Social Issues

24 Dec 2018

‘เมือง เทคโนโลยี ความยั่งยืน’ วัตถุดิบชั้นดีของ ‘Trend’ ปี 2018

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ พาสำรวจเมือง เทคโนโลยี และความยั่งยืน เพื่อให้เห็นภาพของ ‘Trend’ ในปี 2018 ที่วนเวียนอยู่รอบการดำรงชีวิตในปัจจุบัน พร้อมเทียบกับภาพที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

24 Dec 2018

สารกันเบื่อ

18 Dec 2018

พรรคตรงนี้ดีกว่า พรรคที่ว่าชื่อ AI?

เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง ปัญญาประดิษฐ์กับการเมือง ในโลกอนาคตเราอาจมีวิธีการบริหารจัดการรัฐได้ด้วยเครื่องมือทางเทคโนโลยี ที่มีมาตรฐานเดียวกัน จัดการระบบได้อย่างมีคุณภาพและเหมาะสมในแต่ละพื้นที่ โดยไม่ต้องคอยลุ้นกับ ‘คน’ ที่มีข้อผิดพลาดและไว้ใจไม่ได้

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

18 Dec 2018

Spotlights

26 Nov 2018

Open Data และ AI กับก้าวใหม่ของการสร้างรัฐและสังคมที่ดีกว่า

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจากวงเสวนา ‘Open Data และ AI เพื่อความยุติธรรมที่ประชาชนมีส่วนร่วม’ ว่าด้วยการใช้ Open Data และ AI ในการส่งเสริมและพัฒนากระบวนการยุติธรรม และการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

26 Nov 2018

Life & Culture

12 Nov 2018

Fasting Fashion – อดอาหารแล้วดี หรือที่จริงเราเกิดมาเพื่อหิวโหย

เทรนด์ไดเอทกำลังมาแรง ในขณะที่นักวิจัยกำลังทดลองว่า ‘การอดอาหาร’ นั้นมีประโยชน์อย่างไรต่อมนุษย์บ้าง โสภณ ศุภมั่งมี พาไปหาคำตอบ และเล่าผลวิจัยอย่างสนุก

โสภณ ศุภมั่งมี

12 Nov 2018

Life & Culture

9 Nov 2018

วัดจุดแข็งจุดอ่อนจีน-สหรัฐฯ ด้าน A.I.

ศึก A.I. ระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนครั้งนี้ใหญ่หลวงนัก หากใครกุมความได้เปรียบนี้ได้ ก็จะขึ้นเป็นผู้นำเทคโนโลยีแห่งโลกอนาคต อาร์ม ตั้งนิรันดร พาไปดูจุดแข็ง-จุดอ่อน ของทั้งสองยักษ์ใหญ่นี้ ว่ามีโอกาสเพลี่ยงพล้ำหรือเอาชนะกันได้ด้วยวิธีการใด

อาร์ม ตั้งนิรันดร

9 Nov 2018
1 11 12 13 15

MOST READ

Education

22 Apr 2024

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะสอนอย่างไร เมื่อ ChatGPT บุกห้องเรียน: ตัวอย่างการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะปรับตัวอย่างไรที่จะใช้ ChatGPT ในการเรียนการสอนอย่างสร้างสรรค์ เมื่อหลายเรื่องที่ฝึกฝนผู้เรียนอยู่ตอนนี้สามารถใช้โมเดลให้ทำได้ในพริบตา

ตะวัน มานะกุล

22 Apr 2024

Science & Innovation

9 Apr 2024

‘อติเทพ ไชยสิทธิ์’ กับฟิสิกส์การได้ยินของคน กบ หนู และตั๊กแตน

101 ชวนอติเทพ ไชยสิทธิ์ คุยถึงศาสตร์ฟิสิกส์การได้ยินในระดับเซลล์ในไทยและระดับโลก ไปจนถึงงานวิจัยศึกษาการได้ยินของสัตว์อย่างหนู กบ ตั๊กแตนของเขา

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

9 Apr 2024

Science & Innovation

7 Apr 2024

อ่อนแอก็สูญพันธุ์! มหาวิทยาลัยกับการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์ต่อ ChatGPT

ตะวัน มานะกุล ชวนคิดถึงแนวทางการรับมือ ChatGPT ในโลกการศึกษา หากมหาวิทยาลัยเลือกที่จะมีบทบาทนำและออกนโยบายในการปรับตัว

ตะวัน มานะกุล

7 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save