fbpx

Life & Culture

18 Mar 2022

สองระบบคิดและสองแนวทางของการสร้างปัญญาประดิษฐ์

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล ชวนทำความเข้าใจรูปแบบการคิดของปัญญาประดิษฐ์ โดยมีการพัฒนาในสองแนวทางที่สะท้อนรูปแบบการคิดของมนุษย์

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

18 Mar 2022

Life & Culture

28 Jan 2022

ปัญญาประดิษฐ์เกิดมาทำไม? : อ่านความสำคัญของ ‘วัตถุประสงค์’ เมื่อเหตุผลการมีชีวิตอยู่ของปัญญาประดิษฐ์อาจไม่ตรงกับความคาดหวังของมนุษย์

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล เขียนถึงความพยายามในการออกแบบกระบวนการฝึกสอนระบบอัตโนมัติและระบบปัญญาประดิษฐ์ที่ทำให้มีวัตถุประสงค์สอดคล้องกับความต้องการของมนุษย์ ซึ่งตอนนี้ยังต้องพัฒนาอีกมาก

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

28 Jan 2022

Science & Innovation

10 Mar 2020

อำนาจของโค้ด และกฎหมายที่มองไม่เห็นในโลกออนไลน์

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล เขียนถึงการทำงานของ ‘โค้ด’ ในระบบออนไลน์ ที่มีอำนาจมหาศาลในการควบคุมความเป็นไปต่างๆ และอาจไปถึงจุดที่เป็นกฎหมายซึ่งมนุษย์เข้าไม่ถึงภาษาและกลไกนั้น

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

10 Mar 2020

Science & Innovation

29 Jan 2020

รถยนต์ขับเอง : “เราไม่สามารถเดินทางไปถึงดวงจันทร์ได้โดยการสร้างบันไดไปทีละขั้น”

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล เขียนถึงการพัฒนารถยนต์ขับเอง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี และความเป็นไปได้ที่มนุษย์จะนั่งรถโดยไม่ต้องควบคุมเลย

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

29 Jan 2020

Science & Innovation

4 Oct 2019

เมื่อบริษัทรักแต่กิ๊ก: ชะตากรรมคนทำงานยุค Gig Economy

จิตรทัศน์ ฝักเจริญผล เขียนถึงการเติบโตของ ‘Gig Economy’ รูปแบบการทำงานที่กำลังเป็นที่นิยมในหมู่คนยุคใหม่ พร้อมชี้ให้เห็นช่องโหว่และปัญหาของการจ้างงานประเภทนี้ ทั้งในมุมเจ้าของธุรกิจและลูกจ้าง

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

4 Oct 2019

Science & Innovation

29 Aug 2019

ดาบสองคมของเทคโนโลยีจดจำใบหน้า

จิตรทัศน์ ฝักเจริญผล เขียนถึงดาบสองคมของการใช้เทคโนโลยีจดจำใบหน้า (facial recognition) ตั้งแต่ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ การป้องกันอาชญากรรม ไปจนถึงข้อกังวลในเรื่องการละเมิดความเป็นส่วนตัว

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

29 Aug 2019

Economic Focus

21 Jul 2019

เรื่องวุ่นๆ ของการสร้างสกุลเงิน ‘Libra’

จิตรทัศน์ ฝักเจริญผล เขียนถึงที่มาที่ไปของสกุลเงิน ‘Libra’ พร้อมวิเคราะห์โครงสร้างระบบ ที่ต้องอาศัย ‘ความไว้เนื้อเชื่อใจ’ จากผู้ใช้ ควบคู่ไปกับระบบคอมพิวเตอร์ที่ไร้ศูนย์กลาง

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

21 Jul 2019

Science & Innovation

23 Jun 2019

Change My View : เป็นไปได้หรือไม่ที่จะเปลี่ยน ‘ความเชื่อ’ ใครสักคนบนอินเทอร์เน็ต

จิตรทัศน์ ฝักเจริญผล เขียนถึงธรรมชาติของมนุษย์ที่ไม่ได้ใช้ ‘เหตุผล’ กับทุกเรื่องเสมอไป โดยเฉพาะในเรื่องความคิดความเชื่อ คำถามคือในโลกอินเทอร์เน็ตที่เต็มไปด้วยกลุ่มสังคมย่อย เราจะสร้างพื้นที่ที่เอื้อต่อการ ‘เปลี่ยนมุมมอง’ ได้จริงหรือไม่

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

23 Jun 2019

Science & Innovation

24 May 2019

‘ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ’ กับการขับเคลื่อนเทคโนโลยีในโลกยุคใหม่

จิตรทัศน์ ฝักเจริญผล พาไปทำความรู้จักกับ ‘ซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ซ’ ที่มีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนเทคโนโลยีสมัยใหม่

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

24 May 2019

Science & Innovation

26 Apr 2019

คน vs หุ่นยนต์ : ความหวังและข้อกังวลบนโลกอนาคต

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล เล่าถึงหุ่นยนต์ ปัญญาประดิษฐ์ และการเปลี่ยนแปลงในอนาคต-ความเป็นไปได้ที่เครื่องจักรจะทดแทนมนุษย์

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

26 Apr 2019

Science & Innovation

25 Mar 2019

คนสมัยใหม่กับอินเทอร์เน็ต

จิตรทัศน์ ฝักเจริญผล เขียนถึงพฤติกรรมการใช้โซเชียลมีเดียของคนรุ่นใหม่ ตั้งแต่การหายตัวไป (ghosting) การโคจรอยู่รอบตัว (orbiting) ไปจนการเลือกใช้แพลตฟอร์มที่แตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

25 Mar 2019

Life & Culture

22 Feb 2019

การตลาดเบื้องหลังบริการบนอินเทอร์เน็ต

จิตรทัศน์ ฝักเจริญผล เขียนถึงการตลาดเบื้องหลังผู้ให้บริการบนอินเทอร์เน็ต อย่างเฟซบุ๊ก กูเกิ้ล และทวิตเตอร์ ซึ่งดูเหมือนว่าจะเป็น ‘ของฟรี’ ทว่าแฝงด้วยการตลาดที่แยบยล โดยมี ‘ข้อมูลผู้ใช้’ เป็นหัวใจในการหารายได้

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

22 Feb 2019
1 2

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save