fbpx

Social Issues

17 Jan 2023

เปลี่ยนการเรียนการสอบนิติศาสตร์ ด้วยกระดาษ A4 หนึ่งใบ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนคิดถึงการเปลี่ยนรูปแบบการประเมินความรู้ความสามารถของนักเรียนกฎหมาย โดยแนวทางที่เขาทดลองเริ่มต้นด้วยกระดาษ A4 หนึ่งใบ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

17 Jan 2023

Social Issues

13 Jan 2023

101 In Focus Ep.161: ดราม่า ‘งานวิชาการ’ และวิบากกรรมของนักวิชาการไทย

ชวนอ่านบทความว่าด้วยเรื่องราวในวงวิชาการ ทั้งเรื่องการขอตำแหน่ง ระบบตีพิมพ์ผลงานในวารสาร การออกแบบระบบในมหาวิทยาลัย ไปจนถึงช่องโหว่ของกฎหมายอาญาไทย กรณีการซื้อผลงานทางวิชาการ เพื่อทำความเข้าใจสภาพของวงวิชาการไทยมากขึ้น

กองบรรณาธิการ

13 Jan 2023

Politics

11 Jan 2023

ช่องโหว่ของกฎหมายอาญาไทย กรณีการซื้อผลงานทางวิชาการ

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ วิเคราะห์กรณีการซื้อผลงานทางวิชาการว่าอาจไม่สามารถเอาผิดตามกฎหมายอาญาได้ เนื่องจากช่องโหว่ของกฎหมายไทย

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ

11 Jan 2023

Public Policy

11 Jan 2023

หยุดขุดหลุมฝังประเทศด้วย ‘เงินอุดหนุนเกษตรกร’ แบบเดิมๆ

101 PUB ชวนสำรวจปัญหาความยากจนของเกษตรกรไทย เข้าใจช่องโหว่ของนโยบายเงินอุดหนุนเกษตรกรในปัจจุบันที่ยิ่งทำก็เหมือนยิ่ง ‘ขุดหลุมฝังประเทศ’ พร้อมทั้งเสนอแนวทางเปลี่ยนสวัสดิการเติมรายได้ให้สามารถยกระดับความเป็นอยู่ของเกษตรกรได้อย่างยั่งยืน

วรดร เลิศรัตน์

11 Jan 2023

Social Issues

11 Jan 2023

เราจะทำอย่างไรให้อาจารย์มหาวิทยาลัยไม่ต้องขายวิญญาณ

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนสนทนาต่อจากบทความ ‘คู่มือขายวิญญาณ’ ของสมชาย ปรีชาศิลปกุล ที่ชี้ให้เห็นปัญหาของระบบการขอตำแหน่งวิชาการ

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

11 Jan 2023

Social Issues

8 Jan 2023

แรงงาน ยศช้าง และขุนนางวิชาการ: กระบวนการทำให้เป็นราชการในบรรษัทมหา’ลัย

สืบเนื่องจากบทความเรื่องการขอตำแหน่งวิชาการของสมชาย ปรีชาศิลปกุล แล้ว ภิญญพันธุ์เขียนบทความสืบเนื่องกัน ว่าด้วยระเบียบวิธีการในมหาวิทยาลัยทั้งประเด็นเรื่องรูปแบบองค์กร การจ้างงาน ไปจนถึงวิธีคิดเรื่องตรวจงานวิชาการ ที่สะท้อนความเทอะทะของระบบราชการได้เป็นอย่างดี

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

8 Jan 2023

Thai Politics

6 Jan 2023

ปีใหม่ฟ้าใหม่ ความหวังของนโยบายพรรคการเมืองเรื่องการกระจายอำนาจ

คอลัมน์ ‘ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ’ เปิดปีใหม่ด้วยความหวังต่อนโยบายกระจายอำนาจของพรรคการเมือง สำรวจการปลดล็อกท้องถิ่นหลายปีที่ผ่านมา และข้อเสนอของแต่ละพรรค

ณัฐกร วิทิตานนท์

6 Jan 2023

Social Issues

5 Jan 2023

คู่มือ ‘ขายวิญญาณ’ เพื่อตำแหน่งวิชาการในมหาวิทยาลัย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึง 4 ประเด็นที่พึงตระหนักของผู้ขอตำแหน่งวิชาการ จากประสบการณ์มากกว่าทศวรรษในกระบวนการขอตำแหน่งทางวิชาการในสถาบันการศึกษา

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

5 Jan 2023

Social Issues

29 Dec 2022

มองย้อนเด็กไทย 2022: จงเติบโตอย่างแข็งแรง แม้โลกเต็มไปด้วยอุปสรรค

มองย้อน2022 ปีที่ไม่ง่ายสำหรับเด็กไทย พวกเขาเจอความรุนแรงทั้งทางกายภาพ สังคม และโครงสร้าง เด็กไทยไม่มีทางเลือกและทางไป นอกจากเอาชีวิตรอด

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

29 Dec 2022

Social Issues

23 Dec 2022

ตัดเกรดกระทรวงแรงงานหลังโรคระบาดคลี่คลาย: เมื่อรัฐไทยสอบตกการจัดการปัญหาแรงงานข้ามชาติ

หลังสถานการณ์โควิดคลี่คลาย แรงงานข้ามชาติยังหล่นหายจากระบบการจ้างงานอย่างถูกกฎหมาย วงเสวนาเนื่องในวันผู้ย้ายถิ่นสากล ชวนถกถึงแนวทางที่รัฐบาลไทยจัดการปัญหาแรงงานข้ามชาติ

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

23 Dec 2022

Social Issues

22 Dec 2022

เด็กไม่ใช่อนาคต แต่เด็กคือปัจจุบัน: พาสังคมก้าวพ้นชราธิปไตยผ่านจินตนาการพลเมือง

ท่ามกลางความสิ้นหวังของคนรุ่นใหม่ 101 ชวนทำความรู้จักเครื่องมือ ‘จินตนาการพลเมือง’ ที่จะช่วยสร้างหวังและนับรวมความฝันของคนรุ่นใหม่อีกครั้ง

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

22 Dec 2022

Kid For Kids

22 Dec 2022

อุปสรรคของเยาวชนชายแดนใต้ ในกำแพงของความมั่นคง : ข้อมูลจากการสำรวจเยาวชน 2022

เด็กและเยาวชนในพื้นที่ชายแดนใต้ยังถูกคุกคามจากรัฐ และเผชิญปัญหาด้านรายได้ การศึกษา และสุขภาพ แต่เยาวชนกลุ่มนี้ยังคงมีหวังกับการเมืองในพื้นที่

กษิดิ์เดช คำพุช

22 Dec 2022

Interviews

20 Dec 2022

สิตตา มารัตนชัย: ว่าด้วยสิทธิ ประชาธิปไตย และภาวะโลกร้อน ก่อนเราจะไปยังจุดที่ไม่อาจหวนกลับ

101 สนทนากับ ซินดี้ – สิตตา มารัตนชัย หญิงสาวผู้เข้าร่วมการประชุม Conference of Youth ที่เยาวชนมารวมตัวกันเพื่อหาทางออกให้ปัญหาโลกร้อน ถึงการหาทางออกในระยะยาวต่อเรื่องนี้ ก่อนที่ทุกอย่างจะสายเกินแก้

พิมพ์ชนก พุกสุข

20 Dec 2022

Social Issues

20 Dec 2022

รถเมล์ขาดช่วง? คนเลิกใช้รถโดยสาร? : สองเดือนหลังเปลี่ยนสัมปทานรถเมล์ เรามาถูกทางแล้วหรือยัง

กว่าสองเดือนที่ผ่านมานี้ แผนการเปลี่ยนสัมปทานรถเมล์ยังคงขลุกขลักอยู่ไม่น้อย นำมาสู่คำถามสำคัญคือ ปลายทางของการเปลี่ยนผ่านระบบขนส่งมวลชนจะเป็นอย่างไร อีกนานแค่ไหนกว่าที่จะลงตัว เพราะไม่ว่าจะอย่างไร ประชาชนคือผู้ได้รับผลกระทบนี้ไม่ทางใดก็ทางหนึ่งอยู่ดี

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์

20 Dec 2022

Social Issues

16 Dec 2022

หลังเปลี่ยนสัมปทานรถเมล์ เราไปพ้นจากภาวะ ‘รอรถเมล์จนร้องไห้’ หรือ ‘หลังติดเบาะเพราะรถเมล์ซิ่ง’ แล้วหรือยัง

หลังการเปลี่ยนสัมปทานรถเมล์ที่ทำให้ประชาชนได้ใช้รถเมล์ใหม่ๆ สะอาดสะอ้าน แต่ก็ต้องแลกมากับการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างไม่ว่าจะเส้นทางการวิ่งของรถเมล์บางสาย หรือความสับสนของป้ายหมายเลข ฯลฯ เรามากันถูกทางหรือยัง นับจากนี้ เรายังจะต้องเจอกับภาวะ ‘รอรถเมล์จนร้องไห้’ อีกไหม

พิมพ์ชนก พุกสุข

16 Dec 2022
1 17 18 19 82

MOST READ

Social Issues

29 Apr 2024

‘ไม่เรียน ไม่ทำงาน ไม่มีความฝัน(?)’ ชีวิตที่ผ่านพ้นแบบวันต่อวันของเด็ก NEET

101 ชวนสำรวจชีวิตของเด็กนอกระบบการศึกษา นอกตลาดแรงงาน และไม่ได้รับการฝึกอบรม (NEET) ผู้อาศัยในชุมชนใจกลางเมืองกรุงเทพฯ

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

29 Apr 2024

Education

22 Apr 2024

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะสอนอย่างไร เมื่อ ChatGPT บุกห้องเรียน: ตัวอย่างการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะปรับตัวอย่างไรที่จะใช้ ChatGPT ในการเรียนการสอนอย่างสร้างสรรค์ เมื่อหลายเรื่องที่ฝึกฝนผู้เรียนอยู่ตอนนี้สามารถใช้โมเดลให้ทำได้ในพริบตา

ตะวัน มานะกุล

22 Apr 2024

Sustainability

19 Apr 2024

“Let me flow free” คำร้องขอจากลุ่มน้ำสาละวิน ถึง ‘เขื่อนน้ำยวม’ กัมปนาทในความเงียบ

101 ชวนไปสบตาคนจากลุ่มน้ำสาละวินที่แม่ฮ่องสอนและฟังเรื่องราวของพวกเขาถึงการมาเยือนของโครงการผันน้ำยวม

วจนา วรรลยางกูร

19 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save