fbpx

Social Issues

5 Sep 2022

วีระชาติ กิเลนทอง : เด็กเล็กไทยกับ ‘Learning Loss’ บาดแผลทางการศึกษาที่รอเยียวยา

101 คุยกับ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง เรื่องความพร้อมในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไทย ความรุนแรงของปัญหาการเรียนรู้ถดถอย และทางออกสู่การฟื้นฟูการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

วจนา วรรลยางกูร

5 Sep 2022

Education

2 Sep 2022

เรียนฟรีเหมือนกันแต่ได้ไม่เท่ากัน? : ปรับ ‘นโยบายเรียนฟรี’ ให้ตอบโจทย์สังคมไทย กับ ชัยยุทธ ปัญญสวัสดิ์สุทธิ์

101 คุยกับ รศ.ดร. ชัยยุทธ ปัญญสวัสดิ์สุทธิ์ อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถึงการปรับปรุงนโยบายเรียนฟรีให้ตอบโจทย์สังคมไทย

สุดารัตน์ พรมสีใหม่

2 Sep 2022

Kid For Kids

30 Aug 2022

7 แนวโน้มเด็กและเยาวชนไทยในวิกฤตเหลื่อมล้ำ โรคระบาดและการเมือง

นักวิจัยศูนย์ความรู้นโยบายเด็กและครอบครัว (คิด for คิดส์) เปิดเผยรายงานสถานการณ์เด็กและครอบครัวปี 2022 ที่สะท้อนให้เห็นถึงความท้าทายที่ครอบครัวไทยต้องเผชิญ

กองบรรณาธิการ

30 Aug 2022

Kid For Kids

24 Aug 2022

เปิดตัว ‘คิด for คิดส์’ ตั้งหลักใหม่นโยบายเด็กและครอบครัวสู่อนาคต

สสส. ร่วมกับ 101 เปิดตัวศูนย์ความรู้นโยบายเด็กและครอบครัว (คิด for คิดส์) ด้วยการแถลงรายงานสถานการณ์เด็กและครอบครัว ประจำปี 2565 ชวนร่วมคิดตั้งหลักใหม่นโยบายเด็กและครอบครัวไทยรับมือความท้าทายจากสามวิกฤต – โควิด ความเหลื่อมล้ำ และสังคมการเมือง

กองบรรณาธิการ

24 Aug 2022

Social Issues

24 Aug 2022

‘ตั้งหลักใหม่ เติมความฝันเด็ก-เยาวชนไทย’ ทางออกก่อนความฝันเด็กไทยจะถูกบดขยี้

บทสรุปงานเสวนา ‘ตั้งหลักใหม่ เติมความฝันเด็ก-เยาวชนไทย’ ที่ชวนกันมามองอนาคตและความฝันของ ‘เด็กสมัยนี้’

พิมพ์ชนก พุกสุข

24 Aug 2022

Social Issues

18 Aug 2022

ระเบิดเวลา ‘Learning Loss’ เปิดงานวิจัย-หาทางออกวิกฤตเด็กไทยกับภาวะการเรียนรู้ถดถอย

จากการเก็บข้อมูลความพร้อมในการเข้าสู่การเรียนภาคบังคับของเด็กปฐมวัย (school readiness) ทำให้พบว่าช่วงโควิด-19 ทำให้เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (learning loss)
คำถามสำคัญก็คือเราจะหาทางฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ที่เกิดจากช่วงโรคระบาดนี้ได้อย่างไร?

กาญจนา ปลอดกรรม

18 Aug 2022

กสศ. x 101

17 Aug 2022

‘ซื้อสังคมดีๆ’ : แค่เพื่อนรวย ลูกคุณก็มีโอกาสได้ดี?

เมื่องานวิจัยพบว่าหากเด็กด้อยโอกาสมีเพื่อนร่ำรวยจะช่วยเพิ่มรายได้ทางเศรษฐกิจได้ แล้วในสังคมไทยที่มีคุณภาพโรงเรียนต่างกัน ทำให้เด็กสองกลุ่มไม่ได้เรียนที่เดียวกัน จะทำอย่างไรให้พวกเขาอยู่สังคมเดียวกันได้บ้าง?

ปวรินทร์ พันธุ์ติเวช

17 Aug 2022

Health

29 Jul 2022

ระลึกถึงอาจารย์อารี

ในวาระการจากไปของ ศ.นพ.อารี วัลยะเสวี ผู้ร่วมก่อตั้งคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ม.มหิดล นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เล่าความทรงจำถึง ‘อาจารย์อารี’ และการทำงานเรื่องปฏิรูปการศึกษาที่มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

29 Jul 2022

Social Issues

27 Jul 2022

เพิ่มแหล่งเรียนรู้ใกล้บ้าน ให้เยาวชนไทยเข้าถึงจริง

คิด for คิดส์ ชวนสำรวจพฤติกรรมการไปแหล่งเรียนรู้ของเยาวชนไทย ผ่านผลสำรวจเยาวชน (Youth Survey 2022) และนโยบายสำหรับแหล่งเรียนรู้ควรปรับทิศทางไปอย่างไร

สรวิศ มา

27 Jul 2022

รื้อถอนแล้วสร้างใหม่

7 Jul 2022

การเลี้ยงลูกเป็นเรื่องของรัฐด้วย

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ ชวนคิดถึงสิ่งที่รัฐต้องทำเพื่อให้การเติบโตของเด็กๆ มีคุณภาพขึ้น ซึ่งจะทำไม่ได้หากขาดนักการเมืองและผู้บริหารระดับสูงที่มีวิสัยทัศน์ชัดเจน

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

7 Jul 2022

Social Issues

2 Jun 2022

อยู่เองได้ โตเองเป็น ตอนที่ 2

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ ชวนคิดถึงการเลี้ยงลูกให้ ‘อยู่เองได้ โตเองเป็น’ ซึ่งอาจเป็นเรื่องยากในระบบการศึกษาที่ไม่ปฏิรูปเสียที หนทางที่มีจึงอาจกลับมาที่พ่อแม่แบบ ‘เราทำเองได้ เราทำเองเป็น’

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

2 Jun 2022

รื้อถอนแล้วสร้างใหม่

4 May 2022

เด็กๆ ไม่เกิด คนแก่ไม่ตาย

จากทฤษฎีพัฒนาการมนุษย์ 8 ขั้นของอีริก อีริกสัน นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ ชวนคิดต่อว่า ในสังคมที่เด็กไทยไม่เกิดและคนแก่ไม่ตายเช่นนี้จะเป็นอย่างไรต่อไป

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

4 May 2022

Life & Culture

27 Apr 2022

โรงเรียนสวนหลวง: โรงเรียนที่ถูกลืมในหน้าประวัติศาสตร์พื้นที่จุฬาฯ

ในอดีตชุมชนสวนหลวง-สามย่าน เคยมีโรงเรียนประถมที่คนในชุมชนส่งลูกไปเรียน แต่จากการพัฒนาพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้โรงเรียนอายุ 74 ปีถูกยุบและแทนที่ด้วยตึกที่พักอาศัย

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

27 Apr 2022

Social Issues

20 Apr 2022

ทักษะศตวรรษที่ 21 เรื่องการล่วงเกิน

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ ชวนคุณครูลองจัดการการเรียนรู้เรื่อง ‘การล่วงเกินและการข่มขืน’ ให้แก่เด็กๆ เมื่อเรื่องนี้เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นรอบตัว

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

20 Apr 2022

Politics

7 Apr 2022

ความเฉื่อย

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึง วัฒนธรรม ‘ความเฉื่อย’ ในระบบราชการ อันเป็นต้นตอที่ทำให้ระบบราชการไม่สามารถเดินหน้าแก้ปัญหาด้วยวิธีการใหม่ๆ และไม่สามารถปฏิรูปได้สำเร็จ

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

7 Apr 2022
1 6 7 8 23

MOST READ

Education

22 Apr 2024

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะสอนอย่างไร เมื่อ ChatGPT บุกห้องเรียน: ตัวอย่างการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะปรับตัวอย่างไรที่จะใช้ ChatGPT ในการเรียนการสอนอย่างสร้างสรรค์ เมื่อหลายเรื่องที่ฝึกฝนผู้เรียนอยู่ตอนนี้สามารถใช้โมเดลให้ทำได้ในพริบตา

ตะวัน มานะกุล

22 Apr 2024

Documentary

23 Apr 2024

‘อยากเรียน ไม่ได้เรียน’ : เสียงจาก ‘ชุมชนโค้งรถไฟยมราช’ เมื่อเด็กกลางเมืองเข้าไม่ถึงการศึกษา

101 พาสำรวจชีวิตเด็กชุมชนโค้งรถไฟยมราชที่พลาดโอกาสทางการศึกษา ชวนหาสาเหตุของปัญหาและหาคำตอบว่าจะทำอย่างไรให้การศึกษาไทยนับรวมพวกเขาอย่างแท้จริง

ณัชชา สินคีรี

23 Apr 2024

เด็กนอกสายตา

24 Apr 2024

“สูงแค่ไหน ก็ไปไม่ถึง” ความฝันติดดอยและการรอคอยโอกาสของเยาวชนแม่ฮ่องสอน

101 พาสำรวจชีวิตเยาวชนบนดอยสูง บ้านจ่าโบ่ อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน พูดคุยถึงความฝันและฟังเสียงสะท้อนจาก ‘เด็กดอย’ ที่ตอกย้ำว่าปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำทางโอกาสยังขวางกั้นความเป็นไปได้อื่นๆ ในชีวิตของพวกเขาอยู่

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

24 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save