กสศ. x 101
Filter
Sort
101 In Focus Ep.165 : ทำไมนโยบายปฏิรูปการศึกษาไม่เคยทำได้สำเร็จ?
101 In Focus ชวนอ่านบทความและงานวิจัยใหม่ล่าสุดว่าด้วยการเมืองของกระบวนการกำหนดนโยบายการศึกษา เพื่อหาคำตอบว่าทำไม ‘ความตั้งใจดี’ จึงไม่เพียงพอกับการทำนโยบาย

กองบรรณาธิการ
10 Feb 2023รู้แต่ทำไม่ได้! ทำไมนโยบายการศึกษาไทยจึงไม่สัมฤทธิ์ผล: มุมมองจากกระบวนการทางนโยบาย
ชวนมองผลวิจัยที่มุ่งหาคำตอบว่าเหตุใดการศึกษาไทยไม่พัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น แม้มีความพยายามปฏิรูปการศึกษามายาวนาน โดยมองผ่านกรอบคิดเรื่องเศรษฐศาสตร์การเมืองของนโยบาย

กองบรรณาธิการ
9 Feb 2023ทำไม ‘จังหวะเวลา’ การให้ทุนการศึกษาจึงสำคัญ?: ข้อค้นพบจากเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
เปิดผลงานวิจัยที่หาคำตอบว่าการให้ทุนกับผู้ปกครองในช่วงเวลาไหนจึงจะส่งผลต่อการนำเงินไปใช้จ่ายในกิจกรรมที่เกี่ยวกับการศึกษาของเด็กโดยตรง

นรชิต จิรสัทธรรม
30 Nov 2022จากห้องทดลอง สู่โลกจริง: เศรษฐศาสตร์เชิงทดลองกับการใช้ Growth Mindset และมุมมองด้านอาชีพเพื่อเปลี่ยนอนาคต
ชวนมองผลการทดลองการใช้ growth mindset และมุมมองด้านอาชีพเพื่อเปลี่ยนอนาคตในกลุ่มนักเรียนด้อยโอกาส

นรชิต จิรสัทธรรม
7 Oct 2022101 In Focus Ep.147: ‘Error Childhood’ การเรียนรู้ที่หล่นหายของเด็กเล็กไทย
101 In Focus คุยกันเรื่องปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอยของเด็กปฐมวัย ผลร้ายที่จะตกค้างต่อพัฒนาการของเด็ก บทเรียนการจัดการการศึกษาในภาวะวิกฤต จนถึงทางออกที่จะฟื้นฟูการเรียนรู้ของเด็ก

กองบรรณาธิการ
23 Sep 2022เข้าใจ ‘วิกฤตการเรียนรู้ถดถอย’ บาดแผลจากโรคระบาดที่ตอกย้ำปัญหาใต้พรมการศึกษาไทย
สรุปความจาก 101 Policy Forum #18 ฟื้นฟูการศึกษา พาเด็กไทยออกจากวิกฤตการเรียนรู้ ที่ชวนกันมาเสนอการแก้ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอย

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์
20 Sep 2022‘การศึกษาไทยในวันที่โรงเรียนไร้อำนาจ’ – กระจายอำนาจการศึกษาคืนสู่โรงเรียน กับ สุกรี นาคแย้ม
101 สนทนากับ สุกรี นาคแย้ม ว่าด้วยโครงสร้างระบบการจัดการบริหารระบบการศึกษาอันเป็นเหตุให้โรงเรียนไม่มีอำนาจอย่างแท้จริง และแนวทางในการกระจายอำนาจการศึกษาที่ทำให้การศึกษาเจริญงอกงามได้อย่างยั่งยืนและทั่วถึง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล
16 Sep 2022เด็กเล็กไทยสูญเสียการเรียนรู้แค่ไหนจากโควิด-19?
โควิด-19 ทำให้โลกชะงัก และทำให้การศึกษาต้องสะดุด โดยเฉพาะกับเด็กปฐมวัยที่ต้องหยุดไปโรงเรียนจนเกิดภาวะการเรียนรู้ถดถอย

วจนา วรรลยางกูร
13 Sep 2022‘จับดินสอผิด-ไม่มีสมาธิ-เขียนหนังสือกลับด้าน’ : มอง ‘การเรียนรู้ถดถอย’ ในเด็กเล็ก ผ่านสายตาครู-ผู้ปกครอง
จากภาวะโควิด-19 ทำให้สถานศึกษาต้องหันไปใช้ระบบเรียนออนไลน์ชั่วคราว ยังผลให้เกิดภาวะการเรียนรู้ถดถอยหรือ Learning Loss ในเหล่าเด็กปฐมวัยที่ต้องอยู่บ้านเป็นเวลานาน
101 ชวนสำรวจประเด็นนี้ผ่านสายตาของครูกับผู้ปกครองเด็กเล็ก

พิมพ์ชนก พุกสุข
8 Sep 2022Error Childhood: การเรียนรู้ที่หล่นหาย
Error Childhood: การเรียนรู้ที่หล่นหาย
101 คุยกับ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ถึงความรุนแรงของปัญหาการเรียนรู้ถดถอย และทางออกสู่การฟื้นฟูการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

กองบรรณาธิการ
7 Sep 2022101 Policy Forum #18 ฟื้นฟูการศึกษา พาเด็กไทยออกจากวิกฤตการเรียนรู้
101 Policy Forum เปิดเวทีถกเถียงเรื่องการฟื้นฟูการศึกษาจากวิกฤตการเรียนรู้ ร่วมตีโจทย์การศึกษาไทยหลังโควิด-19 หานโยบายที่จะนำพาเด็กไทยออกจากวิกฤตการเรียนรู้ และข้อเสนอการแก้ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอยของเด็กปฐมวัย

กองบรรณาธิการ
6 Sep 2022วีระชาติ กิเลนทอง : เด็กเล็กไทยกับ ‘Learning Loss’ บาดแผลทางการศึกษาที่รอเยียวยา
101 คุยกับ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง เรื่องความพร้อมในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไทย ความรุนแรงของปัญหาการเรียนรู้ถดถอย และทางออกสู่การฟื้นฟูการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

วจนา วรรลยางกูร
5 Sep 2022เรียนฟรีเหมือนกันแต่ได้ไม่เท่ากัน? : ปรับ ‘นโยบายเรียนฟรี’ ให้ตอบโจทย์สังคมไทย กับ ชัยยุทธ ปัญญสวัสดิ์สุทธิ์
101 คุยกับ รศ.ดร. ชัยยุทธ ปัญญสวัสดิ์สุทธิ์ อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถึงการปรับปรุงนโยบายเรียนฟรีให้ตอบโจทย์สังคมไทย

สุดารัตน์ พรมสีใหม่
2 Sep 2022ระเบิดเวลา ‘Learning Loss’ เปิดงานวิจัย-หาทางออกวิกฤตเด็กไทยกับภาวะการเรียนรู้ถดถอย
จากการเก็บข้อมูลความพร้อมในการเข้าสู่การเรียนภาคบังคับของเด็กปฐมวัย (school readiness) ทำให้พบว่าช่วงโควิด-19 ทำให้เกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (learning loss)
คำถามสำคัญก็คือเราจะหาทางฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ที่เกิดจากช่วงโรคระบาดนี้ได้อย่างไร?

กาญจนา ปลอดกรรม
18 Aug 2022‘ซื้อสังคมดีๆ’ : แค่เพื่อนรวย ลูกคุณก็มีโอกาสได้ดี?
เมื่องานวิจัยพบว่าหากเด็กด้อยโอกาสมีเพื่อนร่ำรวยจะช่วยเพิ่มรายได้ทางเศรษฐกิจได้ แล้วในสังคมไทยที่มีคุณภาพโรงเรียนต่างกัน ทำให้เด็กสองกลุ่มไม่ได้เรียนที่เดียวกัน จะทำอย่างไรให้พวกเขาอยู่สังคมเดียวกันได้บ้าง?

ปวรินทร์ พันธุ์ติเวช
17 Aug 2022‘โตมากับจอ’ กะเทาะปัญหาการศึกษาไทย เมื่อเด็กต้องเจ็บซ้ำๆ
สรุปเสวนา ‘101 (mid)night round: ‘โตมากับจอ’ กะเทาะปัญหาการศึกษาไทย’ ว่าด้วยปัญหาเหลื่อมล้ำ เบื้องหลังการทำงาน และทางออกของปัญหา
