fbpx

Economic Focus

18 Apr 2017

ฉันเกิดและโตท่ามกลางวิกฤต ‘ต้มยำกุ้ง’

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล กองบรรณาธิการ 101 เล่าประสบการณ์ชมนิทรรศการ “ต้มยำกุ้งวิทยา : วิชานี้อย่าเลียน” ที่มิวเซียมสยามจัดทำขึ้นในวาระครบรอบ 20 ปี วิกฤตต้มยำกุ้ง – วิกฤตเศรษฐกิจที่รุนแรงที่สุดของสังคมเศรษฐกิจไทยนับจากสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา

แฟลชแบ็คกลับไปเมื่อปี 2540 พันธวัฒน์มีอายุได้เพียง 6 ปีเท่านั้น “ต้มยำกุ้งวิทยา” ทำให้เขามองเห็นภาพความทรงจำอะไรในชีวิตของตัวเองและชีวิตของสังคมไทยบ้าง เหมือนหรือต่างกับประสบการณ์ของคุณผู้อ่านอย่างไร อ่านแล้วมาคุยกันครับ!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

18 Apr 2017

Political Economy

17 Apr 2017

ทำไมบอลพรีเมียร์ลีกสนุก แต่ทีมชาติอังกฤษล้มเหลว: มองโมเดลทุนนิยมผ่านโลกฟุตบอล

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนดูฟุตบอล แล้วย้อนดูทุนนิยม วิถีฟุตบอลอังกฤษและเยอรมนีสอนเราเรื่องทางเลือกและความหลากหลายของระบบทุนนิยมอย่างไร หาคำตอบได้จากข้อเขียนอ่านสนุกชิ้นนี้

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

17 Apr 2017

Trends

13 Apr 2017

เปิดเคล็ดลับแผนธุรกิจปฏิวัติโลก

เทคโนโลยีเพียงอย่างเดียวไม่สามารถปฏิวัติโลกแห่งธุรกิจ หรือช่วย ‘ยักษ์ใหม่’ ล้ม ‘ยักษ์ใหญ่’ ได้

‘แผนธุรกิจ’ หรือ Business Plan ต่างหากที่มีความสำคัญ อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์ เปิดผลการศึกษาของทีมนักวิจัยมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เผยเคล็ดลับหกประการของแผนธุรกิจระดับปฏิวัติโลก

อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์

13 Apr 2017

Economic Focus

10 Apr 2017

เปิดตำนานธนบัตรไทย : เรื่องที่คุณไม่เคยรู้

รู้หรือไม่ว่าธนบัตรที่เราใช้กันจนคุ้นเคยอยู่ทุกวันมีที่มาอย่างไร รู้หรือไม่ว่าในอดีตทำกันอย่างไรให้คนไทยยอมรับและหันมาใช้เงินกระดาษเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน รู้หรือไม่ว่าทำไมธนาคารพาณิชย์แห่งแรกของไทยจึงชื่อว่า ‘บุคคลัภย์’ (Book Club) และการตั้งธนาคารพาณิชย์เกี่ยวพันกับการตั้งธนาคารชาติอย่างไร

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เขียนหนังสือ 72 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย เล่าเกร็ดประวัติศาสตร์เบื้องหลังความสำเร็จของการเสกกระดาษให้เป็นเงิน ผ่านเรื่องราวของบิดาแห่งการธนาคารไทย

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม

10 Apr 2017

Law

5 Apr 2017

การปฏิรูปกฎหมายแข่งขันทางการค้า : ความหวังใหม่ของสังคมไทย?

ใครๆ ก็รู้สึกว่าเศรษฐกิจไทยเต็มไปด้วยการผูกขาด ประสบการณ์ถูกเอาเปรียบในฐานะผู้บริโภคก็เคยโดนเข้ากับตัวกันทั้งนั้น แต่เชื่อหรือไม่ว่า ตั้งแต่กฎหมายแข่งขันทางการค้าถูกบังคับใช้ในปี 2542 ยังไม่เคยมีผู้ประกอบธุรกิจถูกลงโทษแม้แต่รายเดียว!

เมื่อปลายเดือนมีนาคม 2560 มีการแก้ไขกฎหมายแข่งขันทางการค้าให้มีเขี้ยวเล็บในการสร้างความเป็นธรรมในการแข่งขัน และลงมือจัดการผู้ผูกขาดที่ใช้อำนาจในทางที่ผิดได้มากขึ้น

กนกนัย ถาวรพานิช อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ร่ำเรียนเขียนอ่านด้านกฎหมายแข่งขันทางการค้ามาอย่างต่อเนื่อง ชวนสำรวจประเด็นสำคัญของกฎหมายฉบับใหม่ และตอบคำถามว่า ทำอย่างไรให้การปฏิรูปกฎหมายแข่งขันทางการค้าในครั้งนี้เป็นความหวังใหม่ของสังคมไทยได้อย่างแท้จริง

กนกนัย ถาวรพานิช

5 Apr 2017

Political Economy

31 Mar 2017

เศรษฐกิจดิจิทัล กฎหมาย กสทช. ใหม่ และอนาคตคลื่นความถี่ไทย : 5 คำถามหลักที่ต้องการคำตอบ

กฎหมาย กสทช. ฉบับใหม่ เพิ่งผ่านสภานิติบัญญัติแห่งชาติสดๆ ร้อนๆ ภัทชา ด้วงกลัด พาไปสำรวจ 5 คำถามหลักที่สังคมไทยควรช่วยกันถาม ว่าด้วยเรื่องเศรษฐกิจดิจิทัล กสทช. ชุดใหม่ และการจัดสรรคลื่นความถี่ในอนาคต

ภัทชา ด้วงกลัด

31 Mar 2017

Political Economy

27 Mar 2017

Concrete Economics

101 ชวน สฤณี อาชวานันทกุล มาเล่าถึงแก่นเนื้อหาของหนังสือน่าอ่านด้านเศรษฐกิจและธุรกิจสมัยใหม่ ประเดิมตอนแรกด้วยหนังสือ Concrete Economics ของ Stephen Cohen และ J. Bradford DeLong

สฤณี อาชวานันทกุล

27 Mar 2017

Political Economy

20 Mar 2017

ตื่นตัวทางการเมือง แสนเชื่องเรื่องเศรษฐกิจ?

เรื่องเศรษฐกิจมีผลต่อประชาชนทุกคน แต่ทำไมมักถูกทอดทิ้งให้อยู่ในมือของ “ผู้เชี่ยวชาญ” ถ้าเช่นนั้น เราจะทำอย่างไรให้ active citizen กลายเป็น active economic citizen ไปด้วย

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

20 Mar 2017

Political Economy

15 Mar 2017

ประเทศ “กำลังพัฒนา” ต้องพัฒนาไปถึงเมื่อไหร่

ที่เรียกกันว่า “ประเทศกำลังพัฒนา” หมายถึงต้องพัฒนาอะไร พัฒนาไปถึงไหน จึงจะได้ชื่อว่าเป็น “ประเทศพัฒนาแล้ว” และ “การพัฒนาเศรษฐกิจ” เป็นเรื่องเดียวกับ “การเติบโตทางเศรษฐกิจ” หรือไม่ ฮาจุน ชาง นักเศรษฐศาสตร์การเมืองแห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มีคำตอบ

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

15 Mar 2017

Economic Focus

13 Mar 2017

อูเบอร์ศึกษา : เมื่อกฎระเบียบเก่าถูกเขย่าด้วยโลกใหม่

กฎระเบียบและการกำกับดูแลของรัฐ ในโลกยุคเทคโนโลยีใหม่ป่วนธุรกิจเก่า ควรเป็นอย่างไร? พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย มอง ‘อูเบอร์’ แล้วชวนคิดต่อว่า กฎหมายมีไว้ทำไม และการกำกับดูแลของรัฐควรมีเป้าหมายเพื่อใคร – ผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการรายเดิม

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

13 Mar 2017

Political Economy

7 Mar 2017

ไทยเป็นประเทศ “โลกที่สาม” – แล้วโลกที่หนึ่งกับสองอยู่ตรงไหน

เราได้ยินคำว่า “ประเทศโลกที่สาม” กันบ่อยๆ แล้วเคยสงสัยบ้างหรือไม่ว่า “ประเทศโลกที่หนึ่ง” และ “ประเทศโลกที่สอง” อยู่ตรงไหน? ประเทศไทยจะข้ามผ่านจากประเทศโลกที่สามเป็นประเทศโลกที่หนึ่ง ต้องผ่านประเทศโลกที่สองก่อนหรือไม่?

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

7 Mar 2017
1 31 32

MOST READ

Political Economy

3 Mar 2023

เมื่อเสรีนิยมใหม่โต้มา-สามัญชนสู้ชีวิตกลับ: บทแนะนำเศรษฐศาสตร์การเมืองในชีวิตประจำวันและเสรีนิยมใหม่จากเบื้องล่าง

ตฤณ ไอยะรา เขียนถึงแนวคิดการมองสามัญชนในฐานะผู้กระทำการในระบบเสรีนิยมใหม่ สะท้อนให้เห็นกลไกเศรษฐกิจที่ไม่ได้เป็นไปตามภาพหวังของชนชั้นนำเสมอไป

ตฤณ ไอยะรา

3 Mar 2023

Curious Economist

5 Mar 2023

คณิตศาสตร์ของการเลือกตั้ง ความสำคัญของ ‘วิธีเลือก’ ในระบอบประชาธิปไตย

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ ชวนดูคณิตศาสตร์ของการเลือกตั้ง เมื่อการออกแบบระบบเลือกตั้งที่ต่างกัน ทำให้ผลการเลือกตั้งออกมาคนละทิศละทาง

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

5 Mar 2023

Public Policy

10 Mar 2023

มีไหม? นโยบายประชานิยมที่ส่งผลดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจระยะยาว

นภนต์ ภุมมา ชวนคิดว่าเป็นไปได้หรือไม่ที่นโยบายประชานิยม จะไม่ใช่เพียงนโยบายใช้หาเสียงฉาบฉวย แต่ส่งผลดีต่อเศรษฐกิจระยะยาว

นภนต์ ภุมมา

10 Mar 2023

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save