fbpx

Democracy

24 Jun 2020

รัฐธรรมนูญคณะราษฎรในประวัติศาสตร์ (กฎหมาย) กษัตริย์นิยม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนย้อนมองประวัติศาสตร์กฎหมายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากรัฐธรรมนูญยุคคณะราษฎร (2475-2489) สู่การ ‘รื้อสร้าง’ ความหมายโดยฝ่ายกษัตริย์นิยมหลังรัฐประหาร 2490

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

24 Jun 2020

Thai Politics

14 May 2020

“ผมเห็น ‘ปรีดี พนมยงค์’ เต็มไปหมดในกลุ่มคนรุ่นใหม่” – ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล

สำรวจมรดกทางความคิดของปรีดี พนมยงค์ ว่าดำรงอยู่และวิวัฒน์อย่างไรในสังคมไทยสมัยใหม่ กับ ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

14 May 2020

People

4 Mar 2020

‘ชุบ ศาลยาชีวิน’ มือพิมพ์ดีด ‘ปฐมรัฐธรรมนูญ’ สยาม

กษิดิศ อนันทนาธร เล่าเกร็ดชีวิตของ ‘ชุบ ศาลยาชีวิน’ มือพิมพ์ดีดร่างปฐมรัฐธรรมนูญบนเรือจ้างกลางแม่น้ำเจ้าพระยา

กษิดิศ อนันทนาธร

4 Mar 2020

Thai Politics

14 Feb 2020

ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ทางอุดมการณ์: ความตายระลอกสองของคณะราษฎร

วจนา วรรลยางกูร พาไปสำรวจประเด็นการทำลายอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมผ่านสารคดี The Destruction of Memory และสะท้อนสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นกับมรดกคณะราษฎรในมุมมองของ ชาตรี ประกิตนนทการ

วจนา วรรลยางกูร

14 Feb 2020

Thai Politics

4 Dec 2019

ปฏิทินแห่งความหวัง? : จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึง ปรากฏการณ์ ‘ไทยใหม่’ และความเปลี่ยนแปลงในยุคคณะราษฎร ผ่าน “ศิลปะ-สถาปัตยกรรมคณะราษฎร” คล้องไปกับภาพวาดสถานที่ต่างๆ ในปฏิทินป๋วย 2563

กษิดิศ อนันทนาธร

4 Dec 2019

Thai Politics

19 Nov 2019

‘เวฬุรีย์ เมธาวีวินิจ’ การเมืองในละคร และ ‘คณะราษฎร’ ผู้รับบทตัวร้ายตลอดกาล

101 คุยกับ เวฬุรีย์ เมธาวีวินิจ ถึงภาพของคณะราษฎรที่ปรากฏผ่านละครในฐานะ ‘ตัวร้าย’ การเมืองในละครหลังข่าว และทิศทางความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมละครไทย

วจนา วรรลยางกูร

19 Nov 2019

Thai Politics

18 Oct 2019

การเตรียมพระองค์ของ ‘เจ้านายเล็กๆ-ยุวกษัตริย์’ ตามแนวทางการอบรมของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ นำส่วนหนึ่งจากงานวิจัยมาเผยแพร่ถึงเรื่องการเตรียมพระองค์ในขั้นต้นของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 8 และรัชกาลที่ 9 ตามแนวทางการอบรมของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

18 Oct 2019

Thai Politics

24 Jun 2019

เมื่อการอภิวัฒน์ 2475 ถูกอ้างว่าชิงสุกก่อนห่าม

ชวนฟังทรรศนะจากลูกชายผู้นำคณะราษฎร เมื่อชนชั้นนำชอบอ้างว่าการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถนายน 2475 เป็นการชิงสุกก่อนห่าม

ธิติ มีแต้ม

24 Jun 2019

Thai Politics

24 Jun 2019

“ผมเชื่อว่ายังมีทหารแบบคุณพ่อ” พันตรีพุทธินาถ พหลพลพยุหเสนา ลูกชายผู้นำคณะราษฎร 

ธิติ มีแต้ม คุยกับ พันตรี พุทธินาถ พหลพลพยุหเสนา ลูกชายพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎร ในวาระ 87 ปี การอภิวัฒน์สยาม 2475

ธิติ มีแต้ม

24 Jun 2019

People

4 Jun 2019

พระยาพหลพลพยุหเสนา : “อยู่ในที่เปนผู้ใหญ่ ก็ตั้งใจจะไม่ให้ผู้มาทีหลังเขาดูแคลน”

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึง พระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎร ว่าด้วยประวัติ ประสบการณ์การเป็นนายกรัฐมนตรี ไปจนถึงการรักษาวาจาสัตย์ เรื่องราวอันเป็นที่มาของฉายา ‘เชษฐบุรุษ’ หรือผู้ที่เป็นผู้ใหญ่

กษิดิศ อนันทนาธร

4 Jun 2019

Thai Politics

19 Mar 2019

การเมืองเรื่องยุบพรรคการเมือง

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ มองการยุบพรรคไทยรักษาชาติ แล้วย้อนไปถึงประวัติศาสตร์การยุบพรรคการเมืองไทยตั้งแต่ 2475 จำนวน 365 พรรค อันมีส่วนทำให้พรรคการเมืองไทยไม่เติบโตอย่างต่อเนื่องและไม่สามารถสร้างความเป็นสถาบันการเมืองที่เข้มแข็งได้

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์

19 Mar 2019

Spotlights

29 Jun 2018

ค้นหาสปิริต 2475 ในเกมส์การ์ดและข้าวของ

อยากรู้ว่าการปฏิวัติ 2475 ‘แมส’ แค่ไหน ดูได้จากข้าวของ เมื่อสัญลักษณ์พานรัฐธรรมนูญจากกลุ่มผู้ก่อการอภิวัฒน์ฯ ได้เดินทางไปอยู่บนสิ่งละอันพันละน้อยทั่วไทย ทั้งขันน้ำ ขวด โคมไฟ ฯลฯ ย้อนดูร่องรอยการต้อนรับประชาธิปไตยอันอบอุ่นผ่านข้าวของยุค 2475 แล้วพิสูจน์ว่าคุณรู้จัก 2475 ดีแค่ไหนผ่าน ‘เกมส์การ์ด(ของ)คณะราษฎรที่เพิ่งออกแบบเสร็จใหม่หมาดๆ!

ชลธร วงศ์รัศมี

29 Jun 2018
1 3 4 5

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save