fbpx

Politics

16 Aug 2021

อำนาจอันยิ่งใหญ่มาพร้อมความรับผิดชอบอันใหญ่ยิ่ง : ทำไมสถาบันกษัตริย์ต้องอยู่ใต้รัฐธรรมนูญ ‘ปราการ กลิ่นฟุ้ง’

101 สนทนากับ ปราการ กลิ่นฟุ้ง ว่าด้วยสถานะและพระราชอำนาจของสถาบันกษัตริย์ตั้งแต่ยุคคณะราษฎร และการเปลี่ยนแปลงจนถึงข้อเสนอปฏิรูปสถาบันฯ ในปัจจุบัน

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

16 Aug 2021

Podcast

1 Jul 2021

101 In Focus Ep.86 : การต่อสู้เชิงสัญลักษณ์บนราชดำเนิน

101 In Focus ชวนท่องไปบนถนนราชดำเนิน สำรวจความเปลี่ยนแปลงอันเป็นภาพสะท้อนการต่อสู้เชิงอำนาจ ตั้งต้นจากสนามหลวง ผ่านอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ไปจรดลานพระบรมรูปทรงม้า

กองบรรณาธิการ

1 Jul 2021

Politics

1 Jul 2021

ราษฎรตื่นแล้ว: จดหมายถึงคณะราษฎรหลังการปฏิวัติสยาม 2475

ปฐมาวดี วิเชียรนิตย์ ชวนอ่านจดหมายที่ ‘ราษฎร’ ส่งตรงถึง ‘คณะราษฎร’ ภายหลังมีระบอบการเมืองใหม่ เพื่อแสดงความกระตือรือร้นที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการทำให้ประเทศเจริญหลังการปฏิวัติ

ปฐมาวดี วิเชียรนิตย์

1 Jul 2021

Media

28 Jun 2021

101 One-on-One Ep.230 ก้าวต่อไปคณะราษฎร ก้าวต่อไปประชาธิปไตยไทย กับ เพนกวิน พริษฐ์ ชิวารักษ์

101 ชวน พริษฐ์ ชิวารักษ์ แกนนำกลุ่มราษฎร คุยถึงย่างก้าวต่อไปของการเมืองบนท้องถนน โจทย์การแก้ไขรัฐธรรมนูญอันเป็นความหวังสู่ทางออกการเมืองไทย และหัวจิตหัวใจของนักเคลื่อนไหวการเมืองที่ผ่านเรือนจำพร้อมคดีติดตัวนับไม่ถ้วน

101 One-on-One

28 Jun 2021

Podcast

24 Jun 2021

101 In Focus Ep.85: 2475 ที่โรงเรียนไม่ได้สอน

101 In Focus ชวนคุยกันเรื่องการให้ความหมาย 2475 ที่เปลี่ยนแปลงไป เรื่องการอภิวัฒน์สยามที่โรงเรียนไม่ได้สอน และการเกิดใหม่ของคณะราษฎรในฐานะสัญลักษณ์การต่อสู้ทางการเมือง

กองบรรณาธิการ

24 Jun 2021

Politics

30 Mar 2021

อ่านหนังสือเรียนสมัยคณะราษฎร (พ.ศ. 2475 – 2500) : สิ่งที่คณะราษฎรอยากบอกประชาชน

โกษม โกยทอง เขียนถึงแบบเรียนสมัยคณะราษฎร ช่วงปี 2475-2500 ที่สะท้อนรูปแบบการปกครองใหม่และค่านิยมใหม่ในสังคมช่วงนั้น

โกษม โกยทอง

30 Mar 2021

Thai Politics

27 Oct 2020

ราษฎรปลดแอก: สยามไม่ใช่คอกควาย!

กษิดิศ อนันทนาธร ย้อนอ่านกระแสการตื่นรู้ของราษฎรไทยในช่วงก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ผ่านบทความบนหน้าหนังสือพิมพ์สมัยนั้นที่ปรากฏปัญญาชนออกมาท้าทายอำนาจรัฐและระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อย่างกล้าหาญ

กษิดิศ อนันทนาธร

27 Oct 2020

Thai Politics

14 Oct 2020

คณะราษฎร 2563

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เปรียบเทียบ ‘คณะราษฎร 2563’ และ ‘คณะราษฎร 2475’ ว่ามีอุดมการณ์เดียวกันคือการปฏิรูปให้สถาบันพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

14 Oct 2020

Politics

14 Jul 2020

การเกิดอีกครั้งของจอมพล ป. พิบูลสงคราม

ธนาพล อิ๋วสกุล เขียนถึงการเปลี่ยนความหมายของจอมพล ป. พิบูลสงครามจาก ‘ผู้ร้ายในประวัติศาตร์การเมืองไทย’ มาเป็นนายทหารฝ่ายคณะราษฎรที่สามารถกำราบฝ่ายปฏิปักษ์ปฏิวัติอย่างราบคาบ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความแหลมคมการเมืองร่วมสมัยของไทย

ธนาพล อิ๋วสกุล

14 Jul 2020

Democracy

2 Jul 2020

นาฏกรรมในท้องพระโรง

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงบทบาทของพระที่นั่งอนันตสมาคม จากเดิมเป็นพื้นที่สัญลักษณ์ความยิ่งใหญ่ของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ สู่การเป็นพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญในการอภิวัฒน์สยาม 2475

ธนาวิ โชติประดิษฐ

2 Jul 2020

Thai Politics

30 Jun 2020

84 ปี อภินิหารหมุดคณะราษฎร ในปีที่ 88 ของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ ชวนคิดถึงความเป็น ‘ของแท้-ไม่แท้’ ของหมุดคณะราษฎร เมื่อเกิดการแพร่กระจายของวัตถุที่ระลึกและสินค้าที่ถอดแบบจากหมุดจริงมากขึ้นเรื่อยๆ

พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์

30 Jun 2020

Thai Politics

27 Jun 2020

ความเป็นประชาธิปไตยในอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย กับ ศรัญญู เทพสงเคราะห์

คุยกับ ผศ.ศรัญญู เทพสงเคราะห์ ผู้เขียนหนังสือ ‘ราษฎรธิปไตย การเมือง อำนาจ และทรงจำของ (คณะ) ราษฎร’ ว่าด้วยการต่อสู้เพื่อสถาปนาความหมายของอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

27 Jun 2020

Thai Politics

26 Jun 2020

2475: ประวัติศาสตร์ที่มีชีวิต กับ ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์

101 สนทนากับ ผศ.ดร.ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ ว่าด้วย ‘การอภิวัฒน์สยาม 2475’ ประวัติศาสตร์จุดเริ่มต้นของระบอบประชาธิปไตยในสังคมไทยวันนี้

กองบรรณาธิการ

26 Jun 2020

Thai Politics

25 Jun 2020

ประกาศคณะราษฎรกับ ‘หน้า’ ของพระปกเกล้า

อิสระ ชูศรี ฉายภาพ “ความร่วมมือ-ต่อรอง” ระหว่างคณะราษฎรกับพระปกเกล้า ผ่านถ้อยคำและภาษาที่ปรากฏอยู่ในเอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์

อิสระ ชูศรี

25 Jun 2020
1 2 3 4 5

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save