fbpx

World

25 Jan 2024

ไต้หวันหลังเลือกตั้ง 2024 : วิเคราะห์ฉากทัศน์สำคัญ กับ สิทธิพล เครือรัฐติกาล

101 ชวนสนทนากับ สิทธิพล เครือรัฐติกาล วิเคราะห์ผลการเลือกตั้งไต้หวัน 2024 ที่จะพาโลกไปสู่ ‘สงคราม’ หรือ ‘สันติภาพ’ พร้อมมองฉากทัศน์อนาคตของไต้หวัน จีน และสหรัฐอเมริกา

กองบรรณาธิการ

25 Jan 2024

Global Affairs

12 Jan 2024

สงครามยูเครนบอกอะไรสีจิ้นผิงกับไบเดน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงนัยจากความเป็นไปของสงครามยูเครนในปัจจุบัน ที่มีต่อทิศทางการเดินหมากของสหรัฐฯ และจีน ในกรณีไต้หวัน

อาร์ม ตั้งนิรันดร

12 Jan 2024

World

24 Oct 2023

ไต้หวันกับการขยายแนวป้องกันตนเองของญี่ปุ่น

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนสำรวจและวิเคราะห์ท่าทีของญี่ปุ่นต่อการสู้รบและความขัดแย้งที่ปะทุขึ้นในหลายภูมิภาคทั่วโลก พิจารณาเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ ‘การป้องปราม’ ภัยคุกคามจีน ตลอดจนแนวคิด ‘การป้องกันตนเองร่วม’ ที่ทำให้ญี่ปุ่นขยายแนวตั้งรับครอบคลุมถึงเกาะไต้หวัน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

24 Oct 2023

World

11 Apr 2023

ไต้หวันกับสองการเดินทาง

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ทางแยกระหว่างไต้หวันที่สืบมาจากสาธารณรัฐจีนในอดีตกับไต้หวันที่ไม่ยึดโยงตัวเองกับจีนแผ่นดินใหญ่ ท่ามกลางบริบทที่เหมือนจะบีบให้ไต้หวันต้องเลือกในไม่ช้านี้

อาร์ม ตั้งนิรันดร

11 Apr 2023

Asia

19 Feb 2023

‘ผัดกะเพรามะเขือเทศ’ และการเดินทางของกองพล 93

มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนไขปริศนาผัดกะเพรามะเขือเทศที่ไต้หวัน ซึ่งเป็นไปได้ว่าเชื่อมโยงกับกองพล 93 จากยูนนานที่ล่าถอยจนมาตั้งรกรากทางภาคเหนือของไทย

มัธธาณะ รอดยิ้ม

19 Feb 2023

World

27 Dec 2022

สงคราม-มหาอำนาจแยกขั้ว: การเมืองโลก 2022 กลางทวิวิกฤต

101 ชวนย้อนมองระเบียบโลกปี 2022 เมื่อโลกกำลังเข้าสู่การเปลี่ยนผ่านดุลอำนาจไปสู่สองขั้วอำนาจระหว่างจีน-สหรัฐฯ และเต็มไปด้วยความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ปะทุขึ้นทั้งในสงครามรัสเซีย-ยูเครน ช่องแคบไต้หวัน และอินโด-แปซิฟิก

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

27 Dec 2022

World

25 Nov 2022

คิดไปทางไหนโลกหมุนไปทางนั้น? จากยูเครน ไต้หวัน สู่เวทีประชุมผู้นำโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์สถานการณ์ความตึงเครียดในการเมืองโลก ผ่านโลกทัศน์แบบ ‘คิดไปทางไหนทำให้ความจริงเป็นไปตามนั้น’ ของรัฐมหาอำนาจ และสัญญาณการคลายลงของโลกทัศน์ดังกล่าวหลังการประชุมสุดยอด 3 เวทีใหญ่ที่ผ่านมา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

25 Nov 2022

China

22 Jul 2022

เงื่อนไขที่จะเกิดสงครามไต้หวัน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง เงื่อนไขที่จะผลักดันให้ยุทธศาสตร์ ‘ความคลุมเครือ’ ของสหรัฐฯ และจีนต่อไต้หวันเปลี่ยนไปสู่ ‘ความชัดเจน’ ที่จะเป็นชนวนให้สงครามไต้หวันปะทุขึ้นได้

อาร์ม ตั้งนิรันดร

22 Jul 2022

Dancing with Leviathan

5 Oct 2021

จาก ‘หุบเขาเม็ดทราย’ สู่ ‘เครือข่ายภูผาหยก’: เมื่อจอมยุทธ์ไต้หวันใน Silicon Valley กลับบ้านเพื่อสร้างอุตสาหกรรมใหม่

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ ชวนย้อนดูประสบการณ์ของไต้หวันที่แก้ปัญหาสมองไหล ดึงดูดคนมีความสามารถจาก Silicon Valley กลับมาช่วยพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ของประเทศจนสำเร็จ

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ

5 Oct 2021

Life & Culture

22 Jul 2021

ประเทศคอมมิวนิสต์ขี้เมาจริงหรือ?

มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนสำรวจวัฒนธรรมการดื่มในประเทศคอมมิวนิสต์และอดีตคอมมิวนิสต์ เมื่อมุมมองต่อแอลกอฮอล์ของรัฐส่งผลไปถึงการควบคุมในสังคม

มัธธาณะ รอดยิ้ม

22 Jul 2021

Dancing with Leviathan

10 May 2021

เมื่อปีศาจจับคู่ร่ายรำ: ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ-ทุน ในเกาหลีใต้ ไต้หวัน สิงคโปร์ สู่บทเรียนต่อไทย

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ พาดูการจัดรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและกลุ่มทุน ในเกาหลีใต้ ไต้หวัน และสิงคโปร์ พร้อมถอดบทเรียนสู่ข้อเสนอแนะต่อประเทศไทย

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ

10 May 2021

Economy

20 Apr 2021

ชิปหาย–คนรุ่นใหม่–สมองไหล: ชิป 3 นาโนเมตรของไต้หวันกับรัฐสภาหมื่นล้านของไทย

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร มองความสำเร็จของไต้หวันในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไฮเทค จนเป็นเจ้าการผลิตชิปของโลก ด้วยการปรับเปลี่ยนการเมืองให้สอดคล้องความฝันคนรุ่นใหม่ แก้ปัญหาสมองไหล ขณะที่ไทยกลับเดินทิศทางตรงกันข้าม

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

20 Apr 2021

Life & Culture

21 Aug 2020

หลี่เติงฮุย บิดาประชาธิปไตยไต้หวัน รัฐบุรุษหลากสีสันผู้ยิ่งยง

ธีรภัทร เจริญสุข เขียนถึงหลี่เติงฮุย รัฐบุรุษผู้นำประชาธิปไตยมาสู่ไต้หวัน ที่ถึงแก่อสัญกรรมในวัย 97 ปี ในปลายเดือนกรกฎาคม 2020

ธีรภัทร เจริญสุข

21 Aug 2020
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save