fbpx

Life & Culture

30 Sep 2021

‘เราต้องการเมืองสุขภาพดี’ รีเซ็ตเมืองใหม่จากภัยโรคระบาดแห่งศตวรรษ – นิรมล เสรีสกุล

101 คุยกับ ‘นิรมล เสรีสกุล’ ผู้อำนวยการศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง (UddC) ถึงภาพใหญ่ของเมืองต่างๆ ในการรับมือโรคระบาดและการออกแบบเมืองหลังโควิด

กองบรรณาธิการ

30 Sep 2021

Life & Culture

28 Sep 2021

‘NEW (AB)NORMAL/(ผิด)ปกติใหม่’ ประมวลภาพความจริงโควิดกับคนไทยใน ๑๕ นาที

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึง ‘ผิดปกติใหม่’ ของผู้กำกับ สรยศ ประภาพันธ์ หนังสั้นตลกเสียดสีหน้าตาย ที่เล่าเรื่องราว ‘ความไม่ปกติ’ ทั้งหลายในการฝ่าวิกฤตของประเทศไทยได้อย่างขบขันและขมขื่นในเวลาเดียวกัน ชนิดที่ว่าแม้จะดูๆ ไปแล้วหัวเราะร่าแต่ก็ช่วยไม่ได้ที่จะน้ำตารินๆ เมื่อระลึกขึ้นได้ว่านี่มันเป็นหนังสะท้อน ‘ชีวิตคนไทย’ ชัดๆ

‘กัลปพฤกษ์’

28 Sep 2021

Curious Economist

26 Sep 2021

ติดโควิด ผิดที่ใคร?

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ ชวนหาคำตอบว่า ถ้าคนคนหนึ่งติดโควิด-19 คนที่ผิดคือตัวเราเองที่ไม่ระวัง หรือรัฐบาลที่ด้อยประสิทธิภาพในการจัดการวิกฤตกันแน่

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

26 Sep 2021

Media

23 Sep 2021

เสียงจากผู้ค้า-ผู้ส่งของออนไลน์ เมื่อโรคระบาดทำขนส่งอัมพาต

101 ชวนฟังเสียงของพนักงานขนส่งและผู้ประกอบการที่พึ่งพาระบบขนส่ง เล่าถึงปัญหาที่พวกเขาเจอในช่วงโควิด และสิ่งที่พวกเขาต้องการให้รัฐช่วยคลี่คลาย ก่อนปัญหาจะบานปลายจนถึงทางตัน

กองบรรณาธิการ

23 Sep 2021

Life & Culture

14 Sep 2021

ฟื้นใจเมือง

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึง ‘บาดแผลรวมหมู่’ หรือ อาการที่เกิดขึ้นกับเมืองและผู้คน หลังจากมีการระบาดของโรคโควิด-19 มาเป็นระยะเวลานาน อาการที่ว่าส่งผลอย่างไรต่อสังคม และเราควรมีวิธีป้องกันและรับมือกับเจ้าอาการนี้อย่างไร หาคำตอบได้ในบทความนี้

นำชัย ชีววิวรรธน์

14 Sep 2021

policy praxis

13 Sep 2021

รัฐที่ไม่ (ต้อง) พัฒนา เพราะใช้งานอาสาเป็นเกราะกำบัง

ฉัตร คำแสง และเชษฐพันธุ์ ใจเปี่ยม เล่าถึงประเทศไทยที่มักมีเอกชนเข้ามาอาสาจัดการปัญหาแทนรัฐ แต่อีกด้านก็ทำให้ประสิทธิภาพของภาครัฐย่ำแย่ลง

ฉัตร คำแสง

13 Sep 2021

Media

2 Sep 2021

101 In Focus Ep.95 : เมื่อโรคระบาดทำให้เราไม่อาจตายดี

เพราะความตายไม่ได้เป็นเรื่องของปัจเจก 101 In Focus สัปดาห์นี้ชวนคุยกันเรื่องความตายที่เปลี่ยนแปลงไปในสถานการณ์โรคระบาด ตลอดจนสิ่งที่รัฐต้องวางแผนเพื่อรับมือกับความตายในอนาคต

กองบรรณาธิการ

2 Sep 2021

World

31 Aug 2021

การไต่สวนสาธารณะเพื่อหาผู้รับผิดชอบนโยบายสู้ศึกไวรัสระบาดที่ผิดพลาดล้มเหลว

การสูญเสียคนที่รักในครอบครัวเพราะโควิด-19 เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางในสหราชอาณาจักร หลายกรณีอาจไม่เสียชีวิต หากมีการบริหารจัดการที่ดีกว่านี้ของรัฐบาล นั่นเป็นเหตุให้มีการเรียกหาความรับผิดชอบจากรัฐบาลบอริส จอห์นสัน และนำไปสู่การประกาศว่าจะมี ‘กระบวนการไต่สวนสาธารณะ’

สมชัย สุวรรณบรรณ

31 Aug 2021

Life & Culture

30 Aug 2021

“เราคงต้องดูแลผู้ป่วยหนักไปแบบนี้ จนกว่าทุกคนจะได้วัคซีน” เสียงจากห้องไอซียูบนเส้นความเป็น-ตาย

ฟังเสียงพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยหนักโควิดในโรงพยาบาลต่างจังหวัด ทั้งเนื้องานที่ต้องเผชิญ และความคาดหวังต่อการแก้ปัญหาของรัฐบาล

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

30 Aug 2021

Social Issues

27 Aug 2021

สบตากับความตาย : อาสาสมัครและภารกิจโควิดที่ไม่มีใครอยากเผชิญ

101 คุยกับอาสาสมัครกลุ่มเส้นด้ายถึงประสบการณ์การช่วยเหลือผู้ป่วยติดเชื้อในสถานการณ์ที่ระบบสาธารณสุขไม่สามารถโอบรับทุกคนได้

วจนา วรรลยางกูร

27 Aug 2021

Life & Culture

26 Aug 2021

มรณกรรม(เลิก)อำพราง : สนทนาเรื่องความตายกับ ‘ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์’ ในวันที่โรคระบาดทำให้เราไม่อาจตายดี

101 สนทนากับภาวิกา ศรีรัตนบัลล์ ถึงความตายและวิถีการตายที่เปลี่ยนไปเพราะโควิด-19 ผลกระทบที่เกิดขึ้น และอนาคตที่รัฐต้องวางแผนรับมือเพื่อการตายที่ดี

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

26 Aug 2021

Economy

26 Aug 2021

การศึกษาและต้นทุนในระยะยาวของเศรษฐกิจถดถอย

วิมุต วานิชเจริญธรรม มองความเสียหายทางเศรษฐกิจจากวิกฤตโควิด-19 ที่ไม่ใช่แค่จีดีพีที่หายไปเท่านั้น แต่ยังรวมถึงความสูญเสียทางทุนมนุษย์ จากโอกาสการศึกษาที่หายไป

วิมุต วานิชเจริญธรรม

26 Aug 2021

World

17 Aug 2021

โรคระบาด-อำนาจ-การเมือง: ผ่าอาเซียนกลางมรสุมโควิด-19

ภายใต้ตัวเลขผู้ติดเชื้อที่พุ่งขึ้นสูงทุกวัน คำถามสำคัญคือ สิ่งนี้คลี่ให้เห็นปัญหาการเมืองและปัญหาเชิงโครงสร้างอะไรบ้างที่ซ่อนอยู่? 101 สนทนากับ รศ.ดร.นฤมล ทับจุมพล, ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง, รศ.ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร และผศ.ดร.อรอนงค์ ทิพย์พิมล ว่าด้วยสถานการณ์การระบาดโควิดระลอกเดลตาที่เผยให้เห็นถึงการเมืองแบบ ‘อาเซียนๆ’ ในมาเลเซีย พม่า อินโดนีเซีย และเวียดนาม

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

17 Aug 2021

Thailand: The Great Reset

16 Aug 2021

Remake โลกสู่เวอร์ชันใหม่ บนโลกปัจจุบันอันไร้ความแน่นอน กับ สันติธาร เสถียรไทย

101 ชวนสันติธาร เสถียรไทย คุยถึงเทรนด์โลกหลังโควิด พร้อมชวนคิดว่าเราจะก้าวข้ามวิกฤตอย่างไร และจะ Remake ประเทศไทยอย่างไรให้ตอบโจทย์โลกอนาคตที่จะเปลี่ยนโฉมไปถาวร

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

16 Aug 2021

หยอดกระปุกอนาคต ด้วยสวัสดิการเงินอุดหนุนเด็กเล็กถ้วนหน้า

13 Aug 2021

เมื่อเด็กๆ ร่วงหล่น: ‘ศูนย์เด็กเล็ก’ ที่พึ่งสุดท้ายที่หายไป

ช่วงเดือนเมษายน 2564 ศูนย์เด็กเล็กต้องปิดชั่วคราวเนื่องจากการระบาดของโควิด-19 ส่งผลให้เด็กจำนวนมากขาดสารอาหารและการเรียนรู้ เพราะต้องอยู่บ้านเป็นเวลาหลายเดือน ขณะที่หลายครอบครัวอยู่ในภาวะเปราะบาง ไม่มีงาน ไม่มีเงิน และไม่มีอาหารเพียงพอที่จะเลี้ยงลูกให้อิ่มท้อง จากที่ศูนย์รับเลี้ยงเด็กเคยเป็นที่พึ่ง ก็กลายเป็นไม่มีสิ่งรองรับในภาวะยากลำบากเช่นนี้

กองบรรณาธิการ

13 Aug 2021
1 2 3 4 7

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save