fbpx

World

18 Sep 2023

ลบแผลอาณานิคมด้วยชาตินิยม: อินเดียและภารัตในทัศนะของ สุรัตน์ โหราชัยกุล

หลากหลายความเห็นน่าสนใจเมื่อผู้คนเห็นว่าอินเดียใช้ชื่อ ‘ภารัต’ ในการออกบัตรเชิญผู้นำกลุ่ม G20

ภารัตมีความหมายอะไร แฝงนัยยะของชาตินิยมฮินดูไหม หรือถึงที่สุด นี่อาจเป็นคำประกาศกึกก้องที่บอกโลกในการจะลบแผลอาณานิคมที่ตะวันตกทิ้งไว้

101 สนทนากับ ผศ.สุรัตน์ โหราชัยกุล ว่าด้วยประเด็นชาตินิยม, อาณานิคม และก้าวใหญ่ยักษ์ลำดับถัดไปของอินเดียในเวทีโลก

พิมพ์ชนก พุกสุข

18 Sep 2023

Life & Culture

9 Aug 2023

หมู่บ้านไทยในโลกภาพยนตร์ : ชาติไทยแบบ ‘ไมโคร’ หลังวิกฤตเศรษฐกิจต้มยำกุ้ง 2540

อิทธิเดช พระเพ็ชร เขียนถึงปรากฏการณ์ที่ภาพยนตร์ไทยหลังวิกฤตต้มยำกุ้ง 2540 ร่วมกันสร้างพลังชาตินิยมผ่าน ‘หมู่บ้าน’ อันเป็นดั่งตัวแทนชาติไทยในอุดมคติ

อิทธิเดช พระเพ็ชร

9 Aug 2023

Thai Politics

12 Aug 2022

‘วันแม่’ สมัยผู้นำคณะราษฎร

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนถึง ‘วันแม่’ ที่แต่เดิมไม่ใช่ 12 สิงหาคม และมีจุดกำเนิดมาจากนโยบายสนับสนุนให้คนมีลูกเพื่อสร้างชาติ

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

12 Aug 2022

Life & Culture

8 Aug 2022

‘บุพเพสันนิวาส 2’ นอสตัลเจียแสนหวานเคลือบอุดมการณ์ราชาชาตินิยม (^o^)

มองภาพยนตร์ ‘บุพเพสันนิวาส 2’ (2022) ผ่านเลนส์สังคมและการเมือง เมื่อดูเหมือนว่าภายใต้เรื่องราวสดใสและอ่อนหวานนั้น คือการสอดรับอุดมการณ์ราชาชาตินิยมและส่งต่อไปยังศตวรรษที่ 21

พิมพ์ชนก พุกสุข

8 Aug 2022

World

31 May 2022

คอสโมนอตคนแรกแห่งอุษาคเนย์: โซเวียตกับการช่วยสร้างชาติเวียดนาม

เรื่องราวของ’ฟัม ต๋วน’ นักบินจากกองทัพอากาศเวียดนาม เป็นชาวเอเชียคนแรกที่ขึ้นสู่ห้วงอวกาศในฐานะ ‘คอสโมนอต’ ของสหภาพโซเวียต

มัธธาณะ รอดยิ้ม

31 May 2022

Politics

14 Mar 2022

Quasi-citizen: สถานะกึ่งพลเมืองยามโลกดาลเดือด

แนวคิดสถานะ ‘กึ่งพลเมือง’ ถูกเสนอขึ้นเพื่อรับมือการเผชิญหน้ากับผู้อพยพแบบไม่หวนกลับ เมื่อผู้ที่อพยพไปยังดินแดนใหม่จำเป็นต้องเข้าถึงสิทธิพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

14 Mar 2022

World

4 Oct 2021

กำแพงเบอร์ลิน วันชาติเยอรมนีและวัฒนธรรมป็อป สู่ ‘ความเป็นชาติ’ ที่แปรเปลี่ยน

3 ตุลาคม เป็นวันชาติเยอรมนี มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนย้อนมองเส้นทางการรวมชาติเยอรมนี นับแต่การก่อตั้งสมาพันธรัฐเยอรมันที่รวบรวมรัฐที่ใช้ภาษาเยอรมัน ซึ่งนำไปสู่คำถามว่า ‘ความเป็นเยอรมัน’ คืออะไร

มัธธาณะ รอดยิ้ม

4 Oct 2021

World

28 Sep 2021

เมื่อเอ็มมา ราดูคานู เด็กสาวอายุเพียง 18 ปี ทำลายภาพลวงตาของผู้ติดหล่มชาตินิยม

สมชัย สุวรรณบรรณ ชวนมองเรื่องชาตินิยมผ่านเรื่องของ เอ็มมา ราดูคานู เมื่อลูกหลานผู้อพยพจำนวนมากเป็นผู้สร้างชื่อเสียงและทำประโยชน์ให้แก่สังคม

สมชัย สุวรรณบรรณ

28 Sep 2021

Podcast

19 Aug 2021

101 In Focus Ep.93 : สามัญชนใน ‘สุริโยไท’ ประวัติศาสตร์ราชาชาตินิยมในยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง

101 In Focus ชวนคุยกันเรื่อง ‘สุริโยไท’ จะเป็นอย่างไรหากมองสุริโยไทจากมุมมองของสามัญชน และช่วงที่กำเนิดภาพยนตร์เรื่องนี้สภาพสังคมและการเมืองตอนนั้นเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

19 Aug 2021

Life & Culture

11 Aug 2021

สามัญชนในสุริโยไท ฝุ่นละอองกลางไฟรัฐประหารและเพลิงสงคราม : ระหว่างบรรทัดหนังมหากาพย์ครบรอบ 2 ทศวรรษ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ตั้งข้อสังเกตและแสวงหาพื้นที่ของสามัญชนในภาพยนตร์วีรสตรี ‘สุริโยไท’ ในวาระครบรอบฉาย 2 ทศวรรษ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

11 Aug 2021

World

6 Aug 2021

จากสยาม 1902 ถึงสหรัฐฯ 1619 : การเดินทางของความทรงจำของคนเล็กๆ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนอ่านประวัติศาสตร์ ‘กบฏเงี้ยว’ ซึ่งถูกเขียนให้เป็นศัตรูในประวัติศาสตร์ชาติกระแสหลัก อันเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นกับคนผิวดำในอเมริกาเช่นกัน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

6 Aug 2021

World

4 Mar 2021

ชาตินิยมลาตินอเมริกาในบริบทของโลกาภิวัตน์ (3)

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนบทความเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของโลกาภิวัตน์กับชาตินิยมในบริบทของลาตินอเมริกา (ตอนที่ 3)

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

4 Mar 2021

Thai Politics

2 Sep 2020

“สังคมศึกษา วิชาการเมืองในโรงเรียน” – วรุตม์ อินทฤทธิ์

101 สนทนากับ วรุตม์ อินทฤทธิ์ ไล่เรียงบทเรียนสังคมศึกษาซึ่งเชื่อมโยงกับการเมืองแต่ละยุค มาจนถึงวันที่ครูต้องปรับตัว สอนเด็กรุ่นใหม่ผู้กลายเป็นกำลังสำคัญของการเคลื่อนไหวในสังคมปัจจุบัน

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

2 Sep 2020

Thai Politics

19 Nov 2019

ทำไมต้องเลิกเชื่อว่าสุโขทัยเป็นอาณาจักรแรก

สนิทสุดา เอกชัย วิพากษ์มรดกลัทธิชาตินิยม เขียนถึงเส้นทางประวัติศาสตร์ของประเทศไทย ที่เกิดจากการรวมกันของหลายเชื้อชาติ ไม่ได้มีแต่ ‘เชื้อชาติไทย’ เท่านั้น อ้างอิงจากนักประวัติศาสตร์ ศรีศักร วัลลิโภดม

สนิทสุดา เอกชัย

19 Nov 2019
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save