fbpx

World

29 Apr 2024

คิชิดะเยือนสหรัฐฯ: พลิกประวัติศาสตร์หน้าใหม่ หรือเพียงอ่อนไหวในปีผลัดผู้นำ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์การเยือนสหรัฐอเมริกาอย่างเป็นทางการครั้งแรกของนายกฯ ฟุมิโอะ คิชิดะ ท่ามกลางบรรยากาศโลกอันร้อนระอุด้วยความขัดแย้งหลายแนวหน้า การยกระดับยุทธศาสตร์ความมั่นคงร่วมกันของญี่ปุ่นและสหรัฐฯ สะท้อนนัยใดบ้างต่อระเบียบโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

29 Apr 2024

Global Affairs

12 Jan 2024

สงครามยูเครนบอกอะไรสีจิ้นผิงกับไบเดน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงนัยจากความเป็นไปของสงครามยูเครนในปัจจุบัน ที่มีต่อทิศทางการเดินหมากของสหรัฐฯ และจีน ในกรณีไต้หวัน

อาร์ม ตั้งนิรันดร

12 Jan 2024

World

28 Jun 2023

Greenland amidst Arctic Powerplay: ‘กรีนแลนด์’ ท่ามกลางสามเหลี่ยมยุทธศาสตร์อาร์กติก

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง ‘กรีนแลนด์’ ในยุคสมัยที่ภูมิรัฐศาสตร์และความตึงเครียดจากการแข่งขันระหว่างมหาอำนาจคืบคลานเข้าไปในอาร์กติก และหนทางที่กรีนแลนด์จะดำเนินนโยบายเพื่อสร้างสมดุลระหว่างมหาอำนาจสองค่ายให้ตอบโจทย์ที่สุด

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

28 Jun 2023

World

11 Apr 2023

ไต้หวันกับสองการเดินทาง

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ทางแยกระหว่างไต้หวันที่สืบมาจากสาธารณรัฐจีนในอดีตกับไต้หวันที่ไม่ยึดโยงตัวเองกับจีนแผ่นดินใหญ่ ท่ามกลางบริบทที่เหมือนจะบีบให้ไต้หวันต้องเลือกในไม่ช้านี้

อาร์ม ตั้งนิรันดร

11 Apr 2023

World

29 Mar 2023

อาร์กติก 2030: พื้นที่แห่งความร่วมมือ ความขัดแย้ง และโอกาสแห่งอนาคต

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง 3 พื้นที่แห่งความร่วมมือ ความขัดแย้ง และโอกาส ที่ขับเคลื่อนการเมืองในภูมิภาคอาร์กติก หลังผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแปรสภาพให้ภูมิภาคอาร์กติกกลายเป็นสมรภูมิทางภูมิรัฐศาสตร์ และมีหลายประเทศหมายตา ‘อาร์กติก’ เพิ่มขึ้น

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

29 Mar 2023

World

22 Mar 2023

A ‘New’ Cold War in the Arctic? ขยับขยายสมรภูมิภูมิรัฐศาสตร์สู่ขั้วโลกเหนือ

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง การแข่งขันและความร่วมมือในภูมิภาคอาร์กติกที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นในหมู่ ‘รัฐอาร์กติก’ และ ‘รัฐที่อยู่ใกล้อาร์ติก’ โดยเฉพาะระหว่างสหรัฐฯ รัสเซีย และจีน จนตกอยู่ในสภาวะสามขั้วอำนาจของสงครามเย็น

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

22 Mar 2023

World

22 Nov 2022

ASEAN Summit – G20 – APEC โลกได้อะไร? ไทยได้อะไร? กับ ปิติ ศรีแสงนาม

101 ชวน ปิติ ศรีแสงนาม สรุปและมองทิศทางภูมิรัฐศาสตร์โลกผ่านสามการประชุมใหญ่ จะนำพาโลกมีแนวโน้มไปในทิศทางไหน และไทยอยู่ตรงไหนในภูมิรัฐศาสตร์โลก

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

22 Nov 2022

World

8 Nov 2022

Is America Back? สหรัฐฯ โลก และเอเชียแปซิฟิกหลัง America must lead again – ประพีร์ อภิชาติสกล

101 สนทนากับ ประพีร์ อภิชาติสกล วิเคราะห์บทบาทการนำโลกและการกลับมาปักหมุดในเอเชียของสหรัฐฯ หลังออกจากโหมดโดดเดี่ยว ไปจนถึงความสัมพันธ์ไทย-สหรัฐฯ ในยุคที่ซับซ้อนผันผวนมากที่สุดยุคหนึ่ง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

8 Nov 2022

Global Affairs

21 Aug 2022

สามก๊กการเมืองโลก: ประเทศไทยและอาเซียนอยู่ที่ตรงไหน

ปิติ ศรีแสงนาม และ แทนคุณ จิตต์อิสระ เปรียบเทียบการเมืองโลกในปัจจุบันกับสามก๊ก พร้อมมองหาตำแหน่งแห่งที่ของไทยและอาเซียนในสามก๊กการเมืองโลก

ปิติ ศรีแสงนาม

21 Aug 2022

101 in focus

8 Jul 2022

101 In Focus Ep.136: ‘สิทธิทำแท้ง’ ในสหรัฐฯ บนอนาคตที่มืดหม่น

101 In Focus ชวยคุยเรื่องอนาคตสิทธิทำแท้งในสหรัฐฯ หลังศาลสูงสุดกลับคำพิพากษาซึ่งรับรองสิทธิทำแท้งของผู้หญิงทั่วประเทศ

กองบรรณาธิการ

8 Jul 2022

World

10 Jun 2022

สหรัฐฯ กับจีนในสนาม AI: ใครจะเป็นมหาอำนาจโลก?

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา ตั้งคำถามต่อการก้าวสู่การเป็นมหาอำนาจ AI ของจีน ผ่านทฤษฎีการแพร่ขยายเทคโนโลยี

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

10 Jun 2022

World

7 Jun 2022

เก็บตก 4 ประเด็นใหญ่: สหรัฐฯ มองเห็นอะไรจากการประชุมซัมมิตอาเซียน-สหรัฐฯ

101 เก็บตกบทสนทนาโต๊ะกลมระหว่างไมเคิล ฮีธ รักษาการเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศไทย กับคณะสื่อว่าด้วยเรื่องการปักหมุดความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ-อาเซียนใหม่ในศตวรรษที่ 21

กองบรรณาธิการ

7 Jun 2022

Asean

26 Apr 2022

จากมหายุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก สู่กรอบความร่วมมือเศรษฐกิจอินโด-แปซิฟิก และสิ่งที่อาเซียนต้องเข้าใจ

ปิติ ศรีแสงนาม วิเคราะห์การเจรจากรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจอินโด-แปซิฟิก ระหว่างสหรัฐฯ-อาเซียน ซึ่งคาดว่าจะเกิดขึ้นระหว่างการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน-สหรัฐฯ ในเดือนพฤษภาคมนี้

ปิติ ศรีแสงนาม

26 Apr 2022

World

6 Apr 2022

ปูตินไม่ชนะ แต่อาจไม่แพ้

อาร์ม ตั้งนิรันดร์ วิเคราะห์ถึง สงครามยืดเยื้อระหว่างรัสเซีย-ยูเครนว่าคือ ‘ความเพลี่ยงพล้ำแต่ไม่พ่ายแพ้’ ของรัสเซีย เพราะมองว่าตนเองสามารถบรรลุเป้าหมายปฏิบัติการทางการทหารได้ในระดับหนึ่ง และยังมีเดิมพันต่อโลกตะวันตกว่าจะทนผลย้อนกลับจากมาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจได้หรือไม่

อาร์ม ตั้งนิรันดร

6 Apr 2022

World

8 Mar 2022

ปูติน ‘รีเซ็ต’ ระเบียบโลก แต่ดันเข้าทางสหรัฐฯ

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ความเปลี่ยนแปลงในระเบียบโลกที่ถูกสั่นคลอนโดยสงครามรัสเซีย-ยูเครน ซึ่งย้อนศรความตั้งใจของรัสเซียที่จะ ‘รีเซ็ต’ ระเบียบโลกให้เข้าทางรัสเซีย-จีน นำไปสู่ความได้เปรียบของสหรัฐฯ และโลกสองขั้วที่แยกห่างออกจากกันยิ่งขึ้น

อาร์ม ตั้งนิรันดร

8 Mar 2022
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save