fbpx

World

29 Jul 2022

เมื่อญี่ปุ่นนำเศรษฐกิจมาขบคิดคู่ความมั่นคง: Economic Security ในยุทธศาสตร์รัฐบาลคิชิดะ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ยุทธศาสตร์ ‘ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ’ ภายใต้รัฐบาลคิชิดะ ที่อาจหันญี่ปุ่นไปสู่เส้นทางที่การทหารกลายเป็นหลักใหญ่ของความมั่นคงมากขึ้นกว่าในอดีต

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

29 Jul 2022

Media

15 Jul 2022

101 In Focus Ep.137: สิ้นอาเบะ สะเทือนญี่ปุ่น?: ญี่ปุ่นหลังการลอบสังหารอดีตนายกฯ อาเบะ

สรุปการลอบสังหารมีเหตุจากอะไร? หน้าสื่อญี่ปุ่นเสนอความคืบหน้าในการสืบสวนไว้อย่างไรบ้าง? สังคมจะจดจำอาเบะอย่างไร? การเมืองญี่ปุ่นภายใต้รัฐบาลคิชิดะจะเปลี่ยนไปอย่างไร? อะไรคือความท้าทายที่รัฐบาลพรรค LDP ภายใต้การนำของคิชิดะต้องเผชิญเมื่อปราศจากอิทธิพลอาเบะ? แนวทางการต่างประเทศสายแข็งแบบอาเบะจะเปลี่ยนไปหรือไม่? 101 In Focus สัปดาห์นี้ ชวนมอง ‘ญี่ปุ่นหลังการลอบสังหารอาเบะ’ 

กองบรรณาธิการ

15 Jul 2022

World

15 Jul 2022

ผลการเลือกตั้งวุฒิสมาชิกญี่ปุ่นและความเชื่อมั่นต่อรัฐบาล

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงผลการเลือกตั้งวุฒิสมาชิกญี่ปุ่นในวันที่ 10 กรกฎาคม 2565 โดยนายฟุมิโอะ คิชิดะ นายกรัฐมนตรี หัวหน้าพรรคแอลดีพี สามารถนำพรรคคว้าชัยชนะได้เสียงเกินกึ่งหนึ่ง

สุภา ปัทมานันท์

15 Jul 2022

World

27 Jun 2022

จับตาการเลือกตั้งวุฒิสมาชิกของญี่ปุ่น

สุภา ปัทมานันท์วิเคราะห์การเลือกตั้งวุฒิสมาชิกของญี่ปุ่นที่กำลังจะมาถึงใน 10 ก.ค. 2565 ซึ่งเป็นตัวชี้วัดความนิยมของรัฐบาลคิชิดะ

สุภา ปัทมานันท์

27 Jun 2022

World

30 May 2022

เจ็บกี่ครั้งก็ยังไม่จบง่าย: เกาะเหนือที่ญี่ปุ่นอ้างกรรมสิทธิ์ในวิกฤตยูเครน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ความเปลี่ยนแปลงของท่าทีญี่ปุ่นต่อรัสเซียที่สะท้อนผ่านกรณีข้อพิพาทดินแดนทางตอนเหนือกลางวิกฤตยูเครน จากที่มีท่าทีรอมชอม ยอมประสานผลประโยชน์กับรัสเซียเพื่อให้ดำเนินการเจรจาได้อย่างราบรื่น ไปสู่ท่าทีที่ ‘แน่วแน่’ สละความคืบหน้าในการแก้ไขข้อพิพาทเพื่อร่วมจัดการวิกฤตและรักษาผลประโยชน์ของระเบียบโลกไว้

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

30 May 2022

Life & Culture

21 Apr 2022

ญี่ปุ่น – เกาหลีใต้ : ความสูญเสียจากสงครามสู่ความไม่ยอมกันในทุกสนามแข่งขัน

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา เขียนถึงความขัดแย้งระหว่างเกาหลี-ญี่ปุ่น ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ยุคก่อนรัฐชาติสมัยใหม่และยาวต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน ซึ่งมีการแข่งขันกีฬาเป็นสงครามตัวแทนที่ชัดเจน

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

21 Apr 2022

World

15 Mar 2022

โตเกียวเสียขวัญ เมื่อเสียงปืนสนั่นฟ้ายูเครน

เมื่อสงครามรัสเซีย-ยูเครน สร้างแรงสั่นสะเทือนต่อทั่วโลก ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ระเบียบความมั่นคงบนกลไกการป้องปรามที่สั่นคลอนในเอเชียตะวันออก ซึ่งก่อให้เกิดความไม่แน่นอนและไม่ไว้เนื้อเชื่อใจในระบบพันธมิตรระหว่างญี่ปุ่น-สหรัฐฯ อันเป็นผลจากการรับประกันความมั่นคงและการตอบสนองที่ล้มเหลวของชาติพันธมิตรยุโรปและสหรัฐฯ ในวิกฤตยูเครน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

15 Mar 2022

World

9 Dec 2021

มองรัฐธรรมนูญที่ไม่เคยถูกแก้: ทำไมรัฐธรรมนูญญี่ปุ่นถึงมีอายุยาวนาน

อรรยา ตั้งรัตนโชติกุล เขียนถึงที่มาและลักษณะของรัฐธรรมประเทศญี่ปุ่น เพราะเหตุใดจึงมีอายุยาวนานกว่า 74 ปี และไม่เคยถูกแก้ไขเลยสักครั้งนับแต่กำเนิดขึ้นมา

อรรยา ตั้งรัตนโชติกุล

9 Dec 2021

Social Issues

25 Nov 2021

ถอด 3 บทเรียนนานาชาติ สู่เส้นทางการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา

101 ชวนอ่านทัศนะบางส่วนจาก 3 ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาใน 3 ทวีป ถอดบทเรียนจากนานาชาติเพื่อสร้างเส้นทางไปสู่ระบบการศึกษาที่เสมอภาคขึ้น เท่าเทียมขึ้นของประเทศไทย และไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลังอย่างแท้จริง

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

25 Nov 2021

Global Affairs

19 Aug 2021

การคะเนพลาดในประวัติศาสตร์สงคราม

ในวาระครบรอบ 76 ปีสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ‘การคะเนพลาด’ ในยุทธศาสตร์สงครามของทั้งชาติฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่านอักษะจนกลายเป็นหุบเหวไปสู่มหาสงคราม

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

19 Aug 2021

Asia

6 Aug 2021

ญี่ปุ่นกับความท้าทาย เมื่อพระอาทิตย์กำลังขึ้นทางทิศตะวันตก

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง ความท้าทายทางสังคมที่ญี่ปุ่นกำลังเผชิญและต้องก้าวข้าม จากทั้งสังคมสูงวัย ระบบอาสุโส วัฒนธรรมการทำงานหนัก วัฒนธรรมรวมหมู่ จนไปถึงสังคมชายเป็นใหญ่

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

6 Aug 2021

Life & Culture

9 Jun 2021

ความนิยมเยอรมันใน ‘ปรัสเซียแห่งบูรพาทิศ’

อ่านความสัมพันธ์ระหว่างญี่ปุ่นกับเยอรมัน ที่เกาะเกี่ยวโยงใยกันอย่างแน่นแฟ้นจนกำเนิดยุคแห่ง ‘ความนิยมเยอรมัน’ ในญี่ปุ่นช่วงปี 1880 และส่งผลมาถึงปัจจุบัน

ชลิดา หนูหล้า

9 Jun 2021

Asia

16 Nov 2020

The QUAD พันธมิตรปิดล้อมจีน?

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ตอบคำถามคาใจว่า The QUAD เวทีความร่วมมือด้านความมั่นคงระหว่างญี่ปุ่น-อินเดีย-สหรัฐอเมริกา-ออสเตรเลียสร้างมาเพื่อปิดล้อมจีนจริงหรือไม่ รวมทั้งวิเคราะห์อนาคตของความร่วมมือนี้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

16 Nov 2020

Politics

29 Oct 2020

คำถามถึงประเทศไทย จาก ‘Hakamada’ แพะผู้ต้องโทษประหารนานที่สุดในโลก

ปรัชญพล เลิศวิชา ชวนมองเรื่องโทษประหารชีวิตผ่านภาพยนตร์สารคดี ‘Hakamada’ ที่ตั้งคำถามถึงการเปิดโอกาสให้กระบวนการยุติธรรมที่ผิดพลาดมีบทลงโทษถึงประหารชีวิต

ปรัชญพล เลิศวิชา

29 Oct 2020
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save