fbpx

Asia

13 Oct 2020

เมื่อญี่ปุ่นเริ่มขบคิดเรื่องการติดอาวุธจู่โจม

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนอ่านเรื่องการติดอาวุธจู่โจม (strike capability) ในญี่ปุ่น – อะไรคือข้อจำกัดที่ทำให้ญี่ปุ่นไม่อาจคิดที่จะมีสมรรถนะด้านนี้มาก่อน และปัจจัยใดที่ทำให้ญี่ปุ่นเริ่มมองเรื่องการติดอาวุธจู่โจมเป็นตัวเลือกเชิงยุทธศาสตร์ในเวลานี้

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

13 Oct 2020

Asia

9 Sep 2020

ญี่ปุ่นหลังยุคชินโซ อาเบะ กับ กิตติ ประเสริฐสุข

101 สนทนากับ รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติ ประเสริฐสุข รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ และอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกี่ยวกับญี่ปุ่นในยุคหลังชินโซ อาเบะ

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

9 Sep 2020

Talk Programmes

8 Sep 2020

101 One-On-One Ep.176 “ญี่ปุ่นหลังยุคชินโซ อาเบะ” – กิตติ ประเสริฐสุข

101 สนทนากับ รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติ ประเสริฐสุข รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ และอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกี่ยวกับญี่ปุ่นในยุคหลังชินโซ อาเบะ

101 One-on-One

8 Sep 2020

Asia

18 Aug 2020

รำลึกสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง – ฉลองวาทกรรมความเป็นเหยื่อ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์การใช้การตีความอดีตเป็นเครื่องมือในเกมอำนาจในภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะการใช้ ‘วาทกรรมความเป็นเหยื่อ’ หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในฐานะต้นทุนเพื่อสร้างความชอบธรรมในทางการเมืองและการต่างประเทศ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

18 Aug 2020

Issue of the Age

16 Apr 2020

โอลิมปิกแห่งโชคชะตา : จากฮิโรชิม่า ฟุคุชิม่า สู่ไวรัสโคโรนา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงความสำคัญและความหมายของโตเกียวโอลิมปิก 2020 ต่อญี่ปุ่น และทางแพร่งที่รัฐบาลต้องตัดสินใจในการเลื่อนจัดโอลิมปิกออกไป

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

16 Apr 2020

Political Economy

21 Oct 2019

สามยุทธศาสตร์ Catch-Up : ตลาดเสรี ฝูงห่านบิน และเสือกระโดด

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนทำความรู้จัก ‘ยุทธศาสตร์เสือกระโดด’ ที่เกาหลีใต้และไต้หวันใช้ขับเคลื่อนสู่ประเทศโลกที่หนึ่ง หลังจากโลกเคยหันมามองเอเชียตะวันออกจาก ‘ทฤษฎีฝูงห่านบิน’ ที่นำโดยญี่ปุ่นมาแล้ว

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

21 Oct 2019

World

1 Feb 2019

ภูมิรัฐศาสตร์ว่าด้วยหมู่เกาะคูริล : ความสัมพันธ์รัสเซีย-ญี่ปุ่น ข้ามไม่พ้น ‘มรดกตกทอด’ ของสงครามโลกครั้งที่ 2 

จิตติภัทร พูนขำ เขียนถึงข้อพิพาทหมู่เกาะคูริล ระหว่างรัสเซียกับญี่ปุ่น ซึ่งเป็นมรดกตกทอดมาตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และปัจจุบันก็ยังไม่มีทีท่าว่าจะตกลงกันได้ เนื่องด้วย ‘ผลประโยชน์แห่งชาติ’ ที่ต่างกันของทั้งสองฝ่าย

จิตติภัทร พูนขำ

1 Feb 2019

Third Eye View

15 Nov 2018

เห็นเสียง ได้ยินภาพ หย่อนก้นลงบนบทเพลง ในนิทรรศการ AUDIO ARCHITECTURE

Eyedropper Fill ยังคงอยู่ที่ญี่ปุ่น พาเราไป ‘ฟัง’ และ ‘ดู’ นิทรรศการ AUDIO ARCHITECTURE งานที่ทำให้เสียงกลายเป็นสถาปัตยกรรมอันงดงาม โดยมี Cornelius ศิลปินที่ทำ ‘เพลง’ ควบคู่ไปกับ ‘ภาพ’ ได้อย่างอัศจรรย์ มาทำดนตรีในนิทรรศการให้

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

15 Nov 2018

Third Eye View

1 Nov 2018

สร้างชาติด้วยดีไซน์ กับ Design Ah! in Tokyo : นิทรรศการที่เปลี่ยนห้องเรียนวิชาออกแบบให้กลายเป็นสวนสนุก

Eyedropper Fil พาไปเดินชมนิทรรศการ Design Ah! ที่โตเกียว ว่าด้วยความคิดสร้างสรรค์จากรายการโทรทัศน์สำหรับเด็กยอดฮิตในชื่อเดียวกัน ทุกเนื้อหาที่ถูกเล่าในจอแบนๆ จะถูกเอามาระเบิดออกกลายเป็นสิ่งที่จับต้องได้ และเล่นได้ราวสวนสนุก นิทรรศการช่วยเปิดให้เราเห็นว่า เพราะอะไร ‘ความคิดสร้างสรรค์’ จึงฝังอยู่ในดีเอ็นเอของคนญี่ปุ่น

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

1 Nov 2018

Life & Culture

20 Jun 2018

ศาลเจ้ายาสุคุนิ การบูชาดวงวิญญาณ ความไม่ยอมรับผิด และการทำใจให้อภัย

ธีรภัทร เจริญสุข พาไปสำรวจ ศาลเจ้ายาสุคุนิ 靖国神社 (ศาลเจ้าสันติรัฐ) เป็นศาลเจ้าที่เป็นศูนย์กลางความขัดแย้งและความบาดหมางระหว่างประเทศที่รุนแรงที่สุดของญี่ปุ่น

ธีรภัทร เจริญสุข

20 Jun 2018

TREND RIDER

7 Jun 2018

Japan Depopulation: คนญี่ปุ่นจะหายไปจากโลกหรือเปล่า

ญี่ปุ่นมีมุมมองต่อสถานการณ์ประชากรถดถอยอย่างไร เมื่อคนไม่อยากมีลูก และคนญี่ปุ่นจะลดน้อยลงจนหมดไปจากโลกหรือไม่ โตมร ศุขปรีชา ชวนสำรวจสถานการณ์ที่คลับคล้ายกับประเทศไทยของเรา

โตมร ศุขปรีชา

7 Jun 2018

Lifestyle

29 Jan 2018

ทาชิโร่จิม่า ฟื้นเมืองด้วยมวลแมว

ธีรภัทร เจริญสุข พาไปสำรวจ เกาะทาชิโรจิมา หนึ่งในสอง ‘เกาะแมว’ อันเลื่องชื่อของญี่ปุ่น ทำไมเกาะนี้จึงมีแมวอยู่มากมาย แล้วเจ้าเหมียวเหล่านี้มีส่วนช่วยในการฟื้นฟูเมืองได้อย่างไร หาคำตอบได้ในบทความนี้

ธีรภัทร เจริญสุข

29 Jan 2018
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save