fbpx

World

24 Nov 2022

งานวิจัยจีนมีคุณภาพจริงหรือ? : มองสังคมการเมืองจีนผ่านโลกงานวิชาการ

101 ชวนอ่านงานวิจัยของ Daron Acemoglu, Jie Zhou และ David Yang เข้าไปศึกษาระบบโครงสร้างอำนาจแบบจีน มันส่งผลอย่างไรกับทิศทางและคุณภาพงานวิจัย

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

24 Nov 2022

World

22 Nov 2022

ASEAN Summit – G20 – APEC โลกได้อะไร? ไทยได้อะไร? กับ ปิติ ศรีแสงนาม

101 ชวน ปิติ ศรีแสงนาม สรุปและมองทิศทางภูมิรัฐศาสตร์โลกผ่านสามการประชุมใหญ่ จะนำพาโลกมีแนวโน้มไปในทิศทางไหน และไทยอยู่ตรงไหนในภูมิรัฐศาสตร์โลก

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

22 Nov 2022

Asean

3 Nov 2022

เราเห็นอะไรบ้างในปีแห่งการฉลอง 60 ปีความสัมพันธ์เวียดนาม-ลาว

อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์ มองความสัมพันธ์ระหว่างเวียดนามและลาว ในวาระครบรอบ 60 ปี ท่ามกลางความท้าทายจากการทะยานขึ้นของจีน

อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์

3 Nov 2022

Asia

24 Oct 2022

จากซินเจียง ถึง SCO ตอนที่ 2: จาก SCO สู่ Global Security Initiatives (GSI)

ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึงพัฒนาการขององค์กรความร่วมมือเซียงไฮ้ (SCO) ทั้งด้านเศรษฐกิจและความมั่นคง จนเป็นที่จับตาบนสนามภูมิรัฐศาสตร์โลก

ปิติ ศรีแสงนาม

24 Oct 2022

People

12 Jan 2021

จาก ‘ฮีโร่’ สู่ ‘ตัวร้าย’ เกิดอะไรขึ้นกับแจ็ค หม่า ที่รัฐบาลจีนติดป้ายว่าเป็น ‘นายทุนผีดูดเลือดผู้ชั่วร้าย’

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึง แจ็ค หม่า นักธุรกิจอันดับต้นๆ ของจีนและของโลก เกิดอะไรขึ้นกับเขาเมื่อจู่ๆ หายตัวไป และภาพลักษณ์ของเขาเปลี่ยนไปอย่างไรในสายตาคนจีน

โสภณ ศุภมั่งมี

12 Jan 2021

Talk Programmes

7 Jan 2021

101 Round Table “จับตาอนาคตไทยและโลก ปี 2021”

คงมีไม่บ่อยครั้งนักในประวัติศาสตร์โลกที่จะเปิดปีใหม่ด้วย วิกฤตสุขภาพ วิกฤตการเมือง และวิกฤตเศรษฐกิจ

โควิด-19 ยังคงระบาดอย่างหนักทั่วโลก แม้วัคซีนจะเป็นความหวัง แต่ก็ยังมีความไม่แน่นอนอีกมากรอคอยอยู่ การแข่งขันระหว่างมหาอำนาจ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาและจีน ยังคงเข้มข้นรุนแรง แม้สหรัฐฯ จะได้ผู้นำใหม่ที่หลายคนคาดหวังมากกว่าคนก่อน ส่วนการเมืองไทยมาถึงจุดที่ไม่อาจหวนกลับตั้งแต่ปี 2020 และไม่มีใครรู้ว่า ปลายทางของวิกฤตรอบนี้คืออะไร

กองบรรณาธิการ

7 Jan 2021

Asia

16 Nov 2020

The QUAD พันธมิตรปิดล้อมจีน?

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ตอบคำถามคาใจว่า The QUAD เวทีความร่วมมือด้านความมั่นคงระหว่างญี่ปุ่น-อินเดีย-สหรัฐอเมริกา-ออสเตรเลียสร้างมาเพื่อปิดล้อมจีนจริงหรือไม่ รวมทั้งวิเคราะห์อนาคตของความร่วมมือนี้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

16 Nov 2020

China

23 Sep 2020

แอปเปิล จีนและทฤษฎีสมคบคิด

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง เมืองกุ้ยโจว เมืองเศรษฐกิจ Big Data น้องใหม่โตเร็ว ซึ่งกลายเป็นสมรภูมิอันซับซ้อนของความขัดแย้งระหว่างจีน-สหรัฐหลังแอปเปิลตบเท้าก้าวเท้าเข้ามาในเมืองนี้

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

23 Sep 2020

Asia

18 Aug 2020

รำลึกสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง – ฉลองวาทกรรมความเป็นเหยื่อ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์การใช้การตีความอดีตเป็นเครื่องมือในเกมอำนาจในภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะการใช้ ‘วาทกรรมความเป็นเหยื่อ’ หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในฐานะต้นทุนเพื่อสร้างความชอบธรรมในทางการเมืองและการต่างประเทศ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

18 Aug 2020

Media

14 Aug 2020

101 One-On-One Ep.168 : “อ่านไทย อาเซียน และอินโด-แปซิฟิก” กับ ดุลยภาค ปรีชารัชช

101 สนทนากับ ผศ.ดร.ดุลยภาค ปรีชารัชช รองคณบดีฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ และอาจารย์ประจำสาขาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกี่ยวกับ 5 ทศวรรษอาเซียน รวมไปถึงภาพใหญ่อย่างไทย อาเซียน และอินโด-แปซิฟิก ในเกมกระดานของสองมหาอำนาจสหรัฐฯ-จีน

101 One-on-One

14 Aug 2020

Asia

17 Jun 2020

ปัญหาความขัดแย้ง อินเดีย-จีนระลอกใหม่: ประวัติศาสตร์ ชาตินิยม และยุทธศาสตร์การทหาร

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจปัญหาความขัดแย้ง อินเดีย-จีนระลอกใหม่ที่กำลังคุกกรุ่นอยู่ และทิศทางของความสัมพันธ์ระหว่างสองมหาอำนาจในอนาคต

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

17 Jun 2020

China

25 May 2020

จีนในสมรภูมิ COVID-19 กับ วาสนา วงศ์สุรวัฒน์

101 สนทนากับ วาสนา วงศ์สุรวัฒน์ จากภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำรวจความท้าทายที่ประเทศมหาอำนาจต้องเจอ ทั้งบทเรียนการรับมือโควิด สังคม การเมือง และเศรษฐกิจของจีนที่เปลี่ยนไป จีนกับการประท้วงในฮ่องกง ไปจนถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จีน-อเมริกา และศึกทวิตภพ “พันธมิตรชานม”

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

25 May 2020

Asia

25 May 2020

พลวัตความสัมพันธ์ เนปาล-จีน-อินเดีย เมื่อมังกรผงาดเหนือเทือกเขาหิมาลัย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงความสัมพันธ์ เนปาล-จีน-อินเดีย เมื่อจีนขยายอิทธิพลเข้ามาในเนปาล ขณะที่บทบาทของอินเดียค่อยๆ ลดลง

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

25 May 2020

World

4 May 2020

สองนักวิชาการ ‘อันตราย’ ที่จีนไม่อยากให้จำ

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล และศุภณัฐ อเนกนำวงศ์ เขียนถึง ‘จารึกหวัง กั๋วเหวย’ ที่มหาวิทยาลัยชิงหวา ศิลารำลึกนักวิชาการที่กลายเป็นสัญลักษณ์ของการไม่ยอมก้มหัวให้เผด็จการทางความคิด

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

4 May 2020
1 2 3 5

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save