fbpx

Life & Culture

4 Apr 2024

ปัญหาการผูกขาดปัญญาประดิษฐ์ ที่จะมาลิขิตชีวิตเรา

เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึงปัญหาของการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ ที่ถูกผูกขาดโดยบริษัทเทคฯ ของสองชาติมหาอำนาจต่างขั่ว – สหรัฐและจีน

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

4 Apr 2024

World

7 Feb 2024

Asia-Arctic Five: รัฐเอเชียกับการสร้างตำแหน่งแห่งที่ในภูมิรัฐศาสตร์ขั้วโลกเหนือ

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล ชวนสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างรัฐเอเชีย 5 ประเทศ กับการเข้าไปมีบทบาทร่วมกับสภาอาร์กติก และมหาอำนาจฝั่งขั้วโลกเหนือ

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

7 Feb 2024

Global Affairs

12 Jan 2024

สงครามยูเครนบอกอะไรสีจิ้นผิงกับไบเดน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงนัยจากความเป็นไปของสงครามยูเครนในปัจจุบัน ที่มีต่อทิศทางการเดินหมากของสหรัฐฯ และจีน ในกรณีไต้หวัน

อาร์ม ตั้งนิรันดร

12 Jan 2024

Media

8 Sep 2023

101 In Focus EP.194 : จากเสื่อผืนหมอนใบ สู่รถไฟความเร็วสูง – เส้นทางการเติบโตของทุนจีนในอาเซียน

101 In Focus สัปดาห์นี้ พาคุณสำรวจเส้นทางรถไฟความเร็วสูงของจีน ณ คุนหมิง ก่อนฉายภาพพัฒนาการของทุนจีนในไทยและอาเซียน รวมถึงความท้าทายที่ตามมาหลังประชากรจีนขยายตัวสู่ภูมิภาคเอเชียอุษาคเนย์

กองบรรณาธิการ

8 Sep 2023

China

21 Aug 2023

สู่อีกฝั่งของทางรถไฟลาว-จีน: เยือน ‘คุนหมิง’ ส่องโอกาสอนาคตบนปากประตูเชื่อมจีน-อาเซียน

101 เยือนนครคุณหมิง ประเทศจีน สำรวจเศรษฐกิจบนจุดเริ่มต้นเส้นทางรถไฟลาว-จีน และมองโอกาสจากการเชื่อมโยงเส้นทางถึงไทย

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Aug 2023

World

12 Jul 2023

บทบาทของจีนในวิกฤตการณ์พม่า: สัจธรรมของหลักการไม่แทรกแซงกิจการภายใน

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดีเขียนถึงบทบาทของจีนในวิกฤตการณ์พม่า แม้ทางการจีนบอกว่าจะไม่ดำเนินการใดๆ ที่อาจถือเป็นการ ‘แทรกแซงกิจการภายใน’ แต่ความจริงเป็นเช่นนั้นหรือไม่?

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

12 Jul 2023

World

28 Jun 2023

Greenland amidst Arctic Powerplay: ‘กรีนแลนด์’ ท่ามกลางสามเหลี่ยมยุทธศาสตร์อาร์กติก

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง ‘กรีนแลนด์’ ในยุคสมัยที่ภูมิรัฐศาสตร์และความตึงเครียดจากการแข่งขันระหว่างมหาอำนาจคืบคลานเข้าไปในอาร์กติก และหนทางที่กรีนแลนด์จะดำเนินนโยบายเพื่อสร้างสมดุลระหว่างมหาอำนาจสองค่ายให้ตอบโจทย์ที่สุด

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

28 Jun 2023

World

26 Jun 2023

เมื่อทุนจีนไหลสู่ Start-up อินเดีย: สายสัมพันธ์เศรษฐกิจจีน-อินเดียที่ซับซ้อนกลางความขัดแย้ง

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ปรากฏการณ์ทุนจีนไหลสู่สตาร์ตอัปอินเดีย ซึ่งเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายของอินเดียในการพัฒนาเศรษฐกิจและการวางตำแหน่งแห่งที่ในโลก ในยุคที่ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์คุกกรุ่น

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Jun 2023

World

22 May 2023

พันธไมตรี จีน-ปากีสถาน-อัฟกานิสถาน: หรือเรากำลังจะได้เห็นบางชาติรับรองรัฐบาลฏอลิบาน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นขึ้นระหว่าง ‘จีน-ปากีสถาน-อัฟกานิสถาน’ ท่ามกลางการคว่ำบาตรต่อรัฐบาลตอฏิบานจากทั่วโลก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

22 May 2023

World

8 May 2023

ยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก 2023: ยุคใหม่ของนโยบายต่างประเทศบังกลาเทศ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ‘ยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก’ ของบังคลาเทศ ที่พยายามสร้างสมดุลและและหาช่องผสานประโยชน์ร่วมกับทุกฝ่าย ท่ามกลางความตึงเครียดระหว่างมหาอำนาจสหรัฐฯ-จีน ที่ปกคลุมมายังเอเชียใต้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

8 May 2023

World

18 Apr 2023

ส่องนโยบายการค้าการลงทุนประเทศคู่แข่งไทย ท่ามกลางสมรภูมิสงครามการค้าสหรัฐฯ กับจีน

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์ เขียนถึง การปรับนโยบายการค้าและการลงทุนของประเทศต่างๆ ในเอเชีย เช่น เวียดนาม อินเดีย เพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ หลังสงครามการค้าระหว่างจีน-สหรัฐฯ นำไปสู่ความตึงเครียดและความเสี่ยงในการลงทุนที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งการปรับนโยบายของจีนเพื่อรับมือต่อสงครามการค้า

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์

18 Apr 2023

World

29 Mar 2023

อาร์กติก 2030: พื้นที่แห่งความร่วมมือ ความขัดแย้ง และโอกาสแห่งอนาคต

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง 3 พื้นที่แห่งความร่วมมือ ความขัดแย้ง และโอกาส ที่ขับเคลื่อนการเมืองในภูมิภาคอาร์กติก หลังผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแปรสภาพให้ภูมิภาคอาร์กติกกลายเป็นสมรภูมิทางภูมิรัฐศาสตร์ และมีหลายประเทศหมายตา ‘อาร์กติก’ เพิ่มขึ้น

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

29 Mar 2023

World

22 Mar 2023

A ‘New’ Cold War in the Arctic? ขยับขยายสมรภูมิภูมิรัฐศาสตร์สู่ขั้วโลกเหนือ

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง การแข่งขันและความร่วมมือในภูมิภาคอาร์กติกที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นในหมู่ ‘รัฐอาร์กติก’ และ ‘รัฐที่อยู่ใกล้อาร์ติก’ โดยเฉพาะระหว่างสหรัฐฯ รัสเซีย และจีน จนตกอยู่ในสภาวะสามขั้วอำนาจของสงครามเย็น

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

22 Mar 2023

Books

13 Mar 2023

‘เขาทำอะไรกันหลังวันปฏิวัติ?’ เครื่องสับหญ้าและวิญญาณ์งู เรื่องราวชีวิตและการต่อสู้ของสองมะกันชนในแผ่นดินจีนร่วมสมัย

ดีโยน ณ มานดารูน แนะนำหนังสือ Silage Choppers & Snake Spirits ว่าด้วยชีวิตอเมริกันที่เชื่อในแนวคิดคอมมิวนิสต์และไปใช้ชีวิตในจีนช่วงสงครามเย็น

ดีโยน ณ มานดารูน

13 Mar 2023

World

27 Feb 2023

1 ปีที่ยังไม่สิ้นสุดของสงครามรัสเซีย-ยูเครน กับ จิตติภัทร พูนขำ

สงครามดำเนินไปอย่างไรบ้างในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา? สงครามที่แปรเปลี่ยนไปเป็น ‘สงครามพร่ากำลัง’ จะยืดเยื้อต่อไปอีกนานแค่ไหน? ฉากทัศน์ต่อไปของสงครามคืออะไร? สงครามเปลี่ยนดุลอำนาจและสั่นสะเทือนระเบียบโลกไปอย่างไรบ้าง? 101 ชวน จิตติภัทร พูนขำ มอง 1 ปีของสงครามรัสเซีย-ยูเครน พร้อมมองทิศทางการเปลี่ยนแปลงของระเบียบโลกนับจากนี้

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

27 Feb 2023
1 2 5

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save