fbpx

PopCapture

7 Dec 2021

รวันดา : การชำระประวัติศาสตร์เหตุฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ เราเรียนรู้อะไรได้บ้าง

คอลัมน์ PopCapture พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึงบทเรียนจากการชำระประวัติศาสตร์เหตุฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในรวันดา เมื่อการยอมรับบาดแผลและชำระประวัติศาสตร์มืดคือบันไดขั้นแรกของการก้าวไปข้างหน้า

พิมพ์ชนก พุกสุข

7 Dec 2021

World

3 Dec 2021

การปฏิรูปที่ไม่สิ้นสุดของกองทัพอินโดนีเซีย

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงประวัติศาสตร์การปฏิรูปกองทัพอินโดนีเซีย ที่เติบโตพร้อมกับประชาธิปไตยในประเทศ

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

3 Dec 2021

World

3 Dec 2021

การประชุมสุดยอดเรื่องประชาธิปไตยในอเมริกา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงเรื่องการเดินทางไปอเมริกาช่วงโควิดและการประชุมสุดยอดว่าด้วยประชาธิปไตยที่กำลังจะจัดขึ้น ซึ่งประเทศไทยไม่ได้รับเชิญ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

3 Dec 2021

World

30 Nov 2021

อ่านสุนทรพจน์โมดี อ่านอนาคตอินเดีย

ภาสกร ธรรมโชติ ชวนสำรวจอนาคตของประเทศอินเดีย ผ่านสุนทรพจน์ของนายกรัฐมนตรี นเรนทรา โมดี ในวันครบรอบ 75 ปีของการประกาศเอกราช

ศิวศิลป์ จุ้ยเจริญ

30 Nov 2021

World

30 Nov 2021

ทำไมจึงเรียกรัฐสภาที่เวสต์มินสเตอร์ว่า The Mother of Parliaments

สมชัย สุวรรณบรรณ ชวนมองการปฏิรูปการเมืองและการปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ของอังกฤษที่ปรับตัวเรื่อยมาจนประสบความสำเร็จในการสถาปนาระบอบประชาธิปไตยผ่านทางรัฐสภาและรักษาสถาบันกษัตริย์มาได้ถึงปัจจุบัน

สมชัย สุวรรณบรรณ

30 Nov 2021

World

25 Nov 2021

2070: การเดิมพันด้วยชีวิตของอินเดีย

ส่งท้ายควันหลงการประชุม COP26 ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง เหตุที่อินเดียกล้าประกาศเป้าหมายอันทะเยอทะยานในการลดคาร์บอนสุทธิให้เป็นศูนย์ภายในปี 2070

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

25 Nov 2021

World

23 Nov 2021

ปุตรีอินโดนีเซีย (Puteri Indonesia): ศาสนา การเมือง และเรือนร่างของผู้หญิง

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึง ‘ปุตรีอินโดนีเซีย’ หรือการประกวดนางงามในอินโดนีเซีย พร้อมแง่มุมที่เชื่อมโยงกับศาสนาและการเมือง

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

23 Nov 2021

World

22 Nov 2021

กว่าจะเป็นทางรถไฟล้านช้าง: บทเรียนจากแอฟริกา สู่ สปป.ลาว

ปิติ ศรีแสงนาม ชวนมองเส้นทางรถไฟล้านช้าง เชื่อมโยงจีนกับ สปป.ลาว ที่จะเปิดให้บริการวันที่ 2 ธันวาคม 2021 โดยย้อนถอดบทเรียนถึงเส้นทางรถไฟต่างๆ ในทวีปแอฟริกาที่จีนเข้าไปลงทุน

ปิติ ศรีแสงนาม

22 Nov 2021

World

22 Nov 2021

ว่าด้วยความร้ายในโลกวิชาการ

คอลัมน์ ‘ช่วยด้วยเพื่อนฉันเป็นฝ่ายซ้าย’ ตอนใหม่ พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง เขียนถึง ออเนอร์ เพื่อนฝ่ายซ้ายผู้โดนวาจาเผ็ดร้อนร้ายกาจจากนักวิชาการในดวงใจทำร้ายเสียเปล่าๆ หลังจากเขียนบทวิจารณ์หนังสือส่งวารสารด้านปรัชญาการเมืองชื่อดัง

พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง

22 Nov 2021

World

19 Nov 2021

มหา’ลัยมีไว้ทำไม: เสรีภาพทางวิชาการโลก รอดได้อย่างไรในห้วงวิกฤต

เสรีภาพทางวิชาการดำรงอยู่ได้อย่างไรในห้วงเวลาที่เช่นนี้? 101 ชวนย้อนตั้งคำถามว่าอะไรคือความหวัง ในวันที่หลักเสรีภาพวิชาการทั่วโลกกำลังถูกท้าย

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

19 Nov 2021

Interviews

17 Nov 2021

Exclusive: Maria Ressa ผู้คว้าโนเบลสันติภาพ 2021 – เมื่อโลกฟูเฟื่องด้วยเรื่องเท็จและเผด็จการ ‘นักข่าว’ จึงต้องเป็นความหวัง

101 สัมภาษณ์พิเศษ Maria Ressa นักข่าวฟิลิปปินส์ผู้คว้ารางวัลโนเบลสาขาสันติภาพปี 2021 ถึงการต่อสู้ของเธอและสำนักข่าว Rappler ในโลกที่เต็มไปด้วยความเท็จและการผงาดของอำนาจนิยม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

17 Nov 2021

World

12 Nov 2021

ชวนคิดนอกกรอบ COP26: เมื่อการแข่งขันอาจช่วยแก้ปัญหาโลกร้อนได้ดีกว่าความร่วมมือ?

ส่งท้ายการประชุม COP26 จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา เขียนถึง ความยากลำบากในการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศผ่านกรอบพหุภาคี และการพัฒนา ‘ความร่วมมือแบบคลับ’ ที่มีแนวคิด ‘การเติบโตสีเขียว’ เป็นแก่น และใช้การแข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์ในการขับเคลื่อนความร่วมมือภายในคลับ

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

12 Nov 2021

Asean

10 Nov 2021

วังวนอันเชี่ยวกรากของทุนนิยมพวกพ้องมาเลเซีย

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง พามองระบบทุนนิยมพวกพ้องในแบบมาเลเซีย อันผูกพันแนบแน่นกับระบบการเมืองอุปถัมป์และการเมืองเชื้อชาตินิยม จนหยั่งรากลึกในมาเลเซียถึงปัจจุบัน

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง

10 Nov 2021

ASEAN บ่มีไกด์

10 Nov 2021

:: ASEAN บ่มีไกด์ Ep.8: “แขวนนวมมวย สวมนวมชิงประธานาธิบดี” ปาเกียวกับการต่อสู้ยกใหม่ที่ยากที่สุดในชีวิต

ASEAN บ่มีไกด์’ พาทุกคนเดินทางไปที่ฟิลิปปินส์ ไปดูเส้นทางการต่อสู้ของแมนนี ปาเกียว จากสังเวียนมวยสู่สังเวียนการเมือง กับศึกชิงเก้าอี้ประธานาธิบดีที่จัดได้ว่ายากสุดในชีวิตของชายผู้นี้

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

10 Nov 2021
1 36 37 38 90

MOST READ

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

Interviews

5 May 2024

สวนกล้วยของคนจีน-ชีวิตอาบสารเคมีของคนลาว: เสถียร ฉันทะ

101 คุยกับ ผศ.ดร.เสถียร ฉันทะ ผู้ทำวิจัยเรื่องสวนกล้วยจีนในลาวและพม่า ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นและการคืบคลานของสวนกล้วยจีนที่ขยายไปในลุ่มน้ำโขง อย่างพม่าและกัมพูชา

วจนา วรรลยางกูร

5 May 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save