fbpx

Global Affairs

17 Nov 2017

อ่านหาเรื่อง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนทดลอง “อ่านหาเรื่อง” ไม่ใช่แบบตั้งใจมีเรื่องกับใคร แต่เป็นการอ่านหาเรื่องจากเอกสารชั้นต้นทางประวัติศาสตร์ แล้วเก็บประเด็นไปคิดต่อ โดยใช้บันทึกการพบปะหารือเจรจาความเมืองในปี พ.ศ. 2504 ระหว่างประธานเหมา กับสองผู้นำลาว เป็นแบบฝึกหัด

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

17 Nov 2017

Global Affairs

10 Nov 2017

จีน vs สหรัฐฯ : ใครครองอนาคต?

โลกยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21 ยังคงหมุนรอบสหรัฐฯ หรือกำลังจะหันมาหมุนรอบจีน? อาร์ม ตั้งนิรันดร สำรวจสองมุมมองจากสองนักวิเคราะห์การเมืองระหว่างประเทศชั้นนำของโลก ว่าใครถือไพ่เด็ดอะไรไว้บ้าง

อาร์ม ตั้งนิรันดร

10 Nov 2017

Global Affairs

19 Oct 2017

Exclusive interview : อเล็ก รอสส์ ตอบคำถามเรื่องอนาคตของโลก สหรัฐ ไทย และเส้นทางการเมืองของเขา

สัมภาษณ์สุดพิเศษ อเล็ก รอสส์ สนทนากับ 101 เรื่องอุตสาหกรรมแห่งอนาคตกับประเทศกำลังพัฒนา ด้านมืดของเทคโนโลยีใหม่ จนถึงเศรษฐกิจการเมืองแห่งอนาคตของสหรัฐอเมริกา และเส้นทางทางการเมืองของเขา

สมคิด พุทธศรี

19 Oct 2017

Global Affairs

28 Sep 2017

ปลากระป๋องกับอาณานิคม

ปลากระป๋องที่เรากินอยู่ทุกวันนี้ นอกจากปลาที่รสชาติอร่อยแล้ว มันยังแฝงไปด้วยเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยทางประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจไม่น้อย

วชิรวิทย์ คงคาลัย

28 Sep 2017

Global Affairs

1 Sep 2017

“กับดักธูสิดีดิส” แห่งศตวรรษที่ 21 : การเปลี่ยนผ่านอำนาจโลกอย่าง(ไร้)สันติ? 

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์หนึ่งในโจทย์สำคัญที่สุดของระเบียบโลกในศตวรรษที่ 21 – สหรัฐฯ และจีนจะก้าวข้าม “กับดักธูสิดีดิส” จนเกิดการเปลี่ยนผ่านอำนาจโลกอย่างสันติได้หรือไม่

จิตติภัทร พูนขำ

1 Sep 2017

Global Affairs

25 Aug 2017

Spirit of Dunkirk คือผู้ชนะ

วรากรณ์ สามโกเศศ เล่าเรื่องจิตวิญญาณแห่งดันเคิร์ก เบื้องหลังวีรกรรมช่วงสงครามโลกครั้งที่สองที่แปลงเรื่อง ‘ลบ’ ให้เป็น ‘บวก’ ด้วยปัญญา จนกลายเป็นภาพยนตร์ Dunkirk ที่โด่งดังทั่วโลก

วรากรณ์ สามโกเศศ

25 Aug 2017

Global Affairs

18 Aug 2017

อ่านห้วงเวลาแบบคิสซินเจอร์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านห้วงเวลาแบบคิสซินเจอร์ (Kissingerian Moment) ห้วงเวลาที่เกิด
The Conservative Dilemma เมื่อสังคมการเมืองเกิดพลังก่อตัวขึ้นมาท้าทายและเรียกร้องการปฏิวัติเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคมจากระบอบเดิม แต่ฝ่ายอนุรักษนิยมแทบไม่มีทางเลือกในการกลับคืนสู่เวลาของเสถียรภาพและความสงบเรียบร้อยเป็นปกติธรรมดา แล้วทางออกอยู่ตรงไหน?

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

18 Aug 2017

Global Affairs

15 Aug 2017

ภูมิศาสตร์การเมืองโลก (Geopolitics): อีกหนึ่งความเสี่ยงที่ไม่ควรมองข้าม

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม เปิดงานศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ใหม่ๆ ที่ชี้ให้เห็นว่า ตลาดการเงินเริ่มหันเหความสนใจออกจากนโยบายการเงิน มาสู่ปัจจัยด้านการเมือง และการปะทุเพิ่มขึ้นของความเสี่ยงด้านภูมิศาสตร์การเมืองส่งผลกระทบทางลบต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งภาคเศรษฐกิจจริงและผลตอบแทนในตลาดการเงิน

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม

15 Aug 2017

Global Affairs

28 Jul 2017

อ่านนอกกล่อง : ทำไม E.H. Carr จึงไม่ใช่นักทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแนวสภาพจริงนิยม(แบบที่เรามักเข้าใจ)?

จิตติภัทร พูนขำ ชวนอ่าน E.H. Carr ผู้ถูกขนานนามว่าเป็นเจ้าพ่อ “สภาพจริงนิยม” ในวงวิชาการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และผลงานคลาสสิก The Twenty Years’ Crisis, 1919-1939 ด้วยมุมมองใหม่แบบทฤษฎีวิพากษ์ แล้วคุณจะพบว่าเขาเป็นทั้ง realist, critical theorist และ historian แบบมิอาจปักป้ายจัดประเภทลงกล่องแบบสำเร็จรูปได้

จิตติภัทร พูนขำ

28 Jul 2017

Global Affairs

9 Jul 2017

สำรวจระเบียบเศรษฐกิจใหม่ในโลกที่ไม่คล้ายเดิม กับ Michael Heise

101 สัมภาษณ์พิเศษ Dr.Michael Heise หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ของ Allianz SE สถาบันการเงินสัญชาติเยอรมนีที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในโลก เกี่ยวกับระเบียบเศรษฐกิจโลกใหม่ ก้าวต่อไปของ Brexit สหรัฐอเมริกาในอุ้งมือโดนัลด์ ทรัมป์ และเศรษฐกิจไทยในยุคเปลี่ยนผ่าน

ปกป้อง จันวิทย์

9 Jul 2017

Global Affairs

19 Jun 2017

ISIS: ถลก – ปก – เปิด

ทำความรู้จักสองนิตยสาร terrorist-made จาก ISIS กลุ่มก่อการร้ายที่ป๊อบที่สุดแห่งยุคสมัย กับพลังของสื่อนิตยสารของพวกเขาที่แข็งแกร่งเกินกว่าที่เราจะคาดคิด

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

19 Jun 2017

Global Affairs

5 Jun 2017

4 สุดยอดรัฐโดดเดี่ยวที่ไม่ยอมคบใคร (หรือไม่มีใครคบ?)

ไปทำความรู้จักกับ ‘รัฐโดดเดี่ยว’ (Isolated States) กัน รัฐแบบนี้มีอยู่จริงในโลกนี้ แต่จะโดดเดี่ยวขนาดไหน ไม่ต้องพึ่งพาใครเลยจริงหรือเปล่า – วชิรวิทย์ คงคาลัย จะพาเราไปดูกัน

วชิรวิทย์ คงคาลัย

5 Jun 2017
1 14 15 16

RECOMMENDED

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

Asean

23 Apr 2024

น้ำตาเถ้าแก่ – กรณี ‘ถุงเท้าปักพระนามอัลลอฮ์’ กับยุทธศาสตร์ความอยู่รอดของนักธุรกิจเชื้อสายจีนในมาเลเซีย

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง เล่ากระแสข่าวการแห่บอยคอต KK Mart ธุรกิจร้านสะดวกซื้อดังในมาเลเซียของนักธุรกิจเชื้อสายจีน จากการวางขายถุงเท้าปักชื่ออัลลอฮ์

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง

23 Apr 2024

Social Issues

2 Apr 2024

สหภาพแรงงานการศึกษาในสิงคโปร์: พลังต่อต้านในยุคอาณานิคมที่ถูกเลือกปฏิบัติ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงพัฒนาการสหภาพแรงงานครูในสิงคโปร์ ตั้งแต่เป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐมลายา จนกระทั่งแยกตัวออกมาในฐานะชาติใหม่ พร้อมสำรวจเส้นทางการต่อสู้ที่หยั่งรากมาตั้งแต่ช่วงอาณานิคม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

2 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save