fbpx

World

24 Mar 2020

งูดินเจ้าที่หรือจะสู้กับมังกรต่างถิ่น: การเมืองเรื่องรถไฟความเร็วสูง

ตฤณ ไอยะรา นำเสนอกรอบวิเคราะห์เพื่อทำความเข้าใจการเมืองภายในประเทศและการเมืองระหว่างประเทศของนโยบายเรื่องรถไฟความเร็วสูง

ตฤณ ไอยะรา

24 Mar 2020

Asia

18 Feb 2020

ส่องศึกเลือกตั้งนิวเดลี: เมื่อคนเมืองหลวงไม่ต้อนรับพรรครัฐบาลอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงการเลือกตั้งกรุงนิวเดลีที่เพิ่งผ่านไปในปี 2563 เมื่อปรากฏผลว่าพรรครัฐบาลอินเดียไม่สามารถคว้าชัยในเมืองหลวงได้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

18 Feb 2020

Film & Music

13 Feb 2020

Crash Landing on You: ตาม “สหายผู้กอง” ไปซื้อของที่ “จังมาดัง”

คอลัมน์ #ชาติพันธุ์ฮันกุก ตอนใหม่ จักรกริช สังขมณี เขียนถึง Crash Landing on You ซีรีส์ชื่อดัง กับภาพสังคมเกาหลีเหนือ ผ่าน ‘จังมาดัง’ พื้นที่สีเทาทางเศรษฐกิจ สถานที่ที่สหายผู้กองพยายามไปเสาะแสวงหาข้าวของเครื่องใช้มาให้ให้กับ ยุนเซรี

จักรกริช สังขมณี

13 Feb 2020

Asia

26 Jan 2020

อินเดีย 2020 กับมรสุมลูกใหญ่ที่ต้องก้าวข้าม

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจปัญหาและอุปสรรคทางด้านการพัฒนาของอินเดียในปี 2020 ที่รัฐบาลโมดี 2.0 ต้องเผชิญ และชวนมองความเป็นไปของอินเดียในปีนี้ว่าจะมีแนวโน้มเป็นอย่างไร

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Jan 2020

Asia

23 Jan 2020

เกาะคุก จับแพะ และเผด็จการ : กว่าประชาธิปไตยจะปักหลักบนเกาะไต้หวัน

นิติธร สุรบัณฑิตย์ เขียนถึงประวัติศาสตร์บาดแผลของไต้หวัน กว่าประชาธิปไตยจะแทงรากอย่างมั่นคงในปัจจุบัน

นิติธร สุรบัณฑิตย์

23 Jan 2020

Books

23 Jan 2020

วรรณกรรมเกาหลี: ช่องว่างระหว่างมีและซอล เราได้ยินอะไร? (1)

จักรกริช สังขมณี เขียนถึง “มี ในเมษายน ซอล ในกรกฎาคม” หนังสือรวมเรื่องสั้น ที่จะสะท้อนการเปลี่ยนแปลงสำคัญในหน้าประวัติศาสตร์เกาหลีใต้ร่วมสมัย ในตอนแรกว่ากันด้วยสามเรื่องสั้นที่จะพาสำรวจประเด็น การศึกษา ความหลากหลายทางเพศ และการเปลี่ยนแปลงของเมืองผ่านร้านสะดวกซื้อ

จักรกริช สังขมณี

23 Jan 2020

Asia

26 Dec 2019

ขบวนการนักศึกษากับการเคลื่อนไหวในระบอบประชาธิปไตยของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงพลังของขบวนการนักศึกษาอินเดียที่สร้างความเปลี่ยนแปลงในสังคมอินเดียมาแล้วหลายครั้ง และล่าสุดกับการเดินหน้าประท้วงกฎหมายสัญชาติที่อาจสร้างปัญหาใหญ่ตามมาได้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Dec 2019

Asia

23 Dec 2019

แอปเปิล อาร์เซ็ป และอินเดีย

ปิติ ศรีแสงนาม เปรียบ RCEP เป็นแอปเปิลของ Isaac Newton โดยใช้กฎความโน้มถ่วงสากลของนิวตันอธิบายความเป็นไปของเขตการค้าเสรีที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งกำลังจะเกิดขึ้น

ปิติ ศรีแสงนาม

23 Dec 2019

Sustainability

11 Dec 2019

ไม่มีใครควรเป็นเจ้าของแม่น้ำเพียงผู้เดียว : เขื่อนไซยะบุรี หายนะของแม่น้ำโขง ?

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย สรุปความจากงานเรื่อง Sustainable Banking กรณีศึกษาโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำไซยะบุรี ว่าด้วยผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนริมแม่น้ำโขง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

11 Dec 2019

Asia

12 Nov 2019

อินเดีย-จีน ไม่ลงรอยกันจริงหรือ?

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก พาไปไขข้อสงสัยถึงความสัมพันธ์ อินเดีย-จีน ที่ดูจะมีภาพกระทบกระทั่งกันเรื่อยมาโดยเฉพาะเรื่องพรมแดน แต่ที่จริงแล้วสองประเทศนี้มีความสัมพันธ์แบบ ‘เพื่อนรัก-เพื่อนร้าย’ มากกว่า

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

12 Nov 2019

World

7 Oct 2019

หญิงบำเรอ : ประวัติศาสตร์ บาดแผล และการต่อรองบนเวทีระหว่างประเทศของเกาหลีใต้กับญี่ปุ่น

สุชาดา เลี้ยงชูศักดิ์ เขียนถึงประวัติศาสตร์ของ ‘หญิงบำเรอ’ (comfort women) หนึ่งในปมขัดแย้งสำคัญระหว่างเกาหลีใต้กับญี่ปุ่น ซึ่งยืดเยื้อมายาวนาน และยังไม่มีทีท่าว่าจะได้ข้อยุติในเร็ววัน

สุชาดา เลี้ยงชูศักดิ์

7 Oct 2019

Asia

2 Oct 2019

150 ปี มหาตมะ คานธี: อุดมการณ์ ข้อครหา และลูกหลานในปัจจุบัน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงชีวิตของมหาตมะ คานธี และจุดบกพร่องทางความคิดของเขาที่มีรอยด่างพร้อยไม่แตกต่างจากคนธรรมดา แต่เป็นคนธรรมดาที่ลุกขึ้นมาเปลี่ยนแปลงโลกด้วยสองมือและสติปัญญา

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

2 Oct 2019

Asia

19 Sep 2019

อินเดียในกระแสโลก กับ สุรัตน์ โหราชัยกุล

เนื้อหาบางส่วนจากการพูดคุยกันในรายการ 101 One-on-One Ep.87 ‘อ่านอินเดียในกระแสโลก’ กับ ผศ.สุรัตน์ โหราชัยกุล ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กองบรรณาธิการ

19 Sep 2019

Asia

9 Sep 2019

แคชเมียร์ปัญหาสามเส้า อินเดีย ปากีสถาน และจีน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชี้ให้เห็นความสำคัญของดินแดนแคชเมียร์ในทางภูมิศาสตร์เศรษฐกิจและการเมือง ที่กลายเป็นปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของอินเดีย ปากีสถาน และจีน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

9 Sep 2019

Democracy

2 Sep 2019

ฮ่องกงปิดปรับปรุง : จนกว่าเสรีภาพจะมาถึง ?

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย ลงพื้นที่ไปดู ‘ม็อบฮ่องกง’ สนทนากับผู้คนว่าด้วยความฝัน ความหวัง ความต้องการของพวกเขา ในห้วงยามที่บ้านเมืองเผชิญกับวิกฤตทางการเมือง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

2 Sep 2019
1 10 11 12 14

MOST READ

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

World

29 Apr 2024

คิชิดะเยือนสหรัฐฯ: พลิกประวัติศาสตร์หน้าใหม่ หรือเพียงอ่อนไหวในปีผลัดผู้นำ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์การเยือนสหรัฐอเมริกาอย่างเป็นทางการครั้งแรกของนายกฯ ฟุมิโอะ คิชิดะ ท่ามกลางบรรยากาศโลกอันร้อนระอุด้วยความขัดแย้งหลายแนวหน้า การยกระดับยุทธศาสตร์ความมั่นคงร่วมกันของญี่ปุ่นและสหรัฐฯ สะท้อนนัยใดบ้างต่อระเบียบโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

29 Apr 2024

Social Issues

2 Apr 2024

สหภาพแรงงานการศึกษาในสิงคโปร์: พลังต่อต้านในยุคอาณานิคมที่ถูกเลือกปฏิบัติ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงพัฒนาการสหภาพแรงงานครูในสิงคโปร์ ตั้งแต่เป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐมลายา จนกระทั่งแยกตัวออกมาในฐานะชาติใหม่ พร้อมสำรวจเส้นทางการต่อสู้ที่หยั่งรากมาตั้งแต่ช่วงอาณานิคม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

2 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save