fbpx

Social Problems

13 Dec 2018

แสงเรื่อเรืองในเรือนจำ

ธิติ มีแต้ม บันทึก Photo essay ในแดนหญิงของเรือนจำจังหวัดอยุธยา เพิ่อฉายให้เห็นการเปิดโอกาสให้ผู้ต้องขังมีสามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดีได้แม้ว่าต้องโทษ ถูกจำกัดอิสรภาพ

ธิติ มีแต้ม

13 Dec 2018

Projects

12 Dec 2018

“ก็เธอไปหาเขาเอง” เมื่อเหยื่อถูกข่มขืนซ้ำในกระบวนการยุติธรรม

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย ถ่ายทอดเรื่องราวสะเทือนใจของหญิงสาวที่ถูกละเมิดทางเพศ พร้อมชำแหละต้นตอของปัญหาที่เกิดจากมายาคติของสังคม และช่องโหว่ในกระบวนการยุติธรรม

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

12 Dec 2018

Projects

11 Dec 2018

ผู้หญิง แม่ และเด็ก: ‘เหยื่อ’ ที่ระบบยุติธรรมไทยมองไม่เห็น – ชลธิช ชื่นอุระ

คุยกับ ‘ชลธิช ชื่นอุระ’ ว่าด้วยโลกของเรือนจำหญิง และเหยื่อที่ถูกทิ้งไว้ข้างหลัง ผ่านงานวิจัยที่เผยให้เห็นสภาวะปัจจุบันของ ‘ระบบยุติธรรมไทย’ ซึ่งมีทั้งช่องโหว่และโอกาส

สมคิด พุทธศรี

11 Dec 2018

Social Issues

9 Dec 2018

เช้าวันอาทิตย์ที่เปลี่ยนไป เมื่อ ‘งานวิ่ง’ ล้นเมือง

วจนา วรรลยางกูร พาไปสำรวจการจัดงานวิ่งในยุคที่ตัวเลขจำนวนงานวิ่งและนักวิ่งเติบโตอย่างรวดเร็ว นอกจากผลกระทบทางสังคมแล้วยังสร้างความเปลี่ยนแปลงในแง่ธุรกิจที่ทำให้แวดวงผู้จัดงานปั่นป่วน

วจนา วรรลยางกูร

9 Dec 2018

หลักประกันสุขภาพที่รัก

6 Dec 2018

หลักประกันสุขภาพที่รัก (23) : ผู้เสพและผู้ติด

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงพัฒนาการของ ‘ยาเสพติด’ และผลลัพธ์ที่ตามมา ตั้งแต่การเปลี่ยนคำจาก ‘ยาม้า’ เป็น ‘ยาบ้า’ จนถึงสงครามยาเสพติดในยุคของ ทักษิณ ชินวัตร พร้อมตั้งคำถามถึงเส้นแบ่งของการเป็น ‘ผู้เสพ’ และ ‘ผู้ติด’

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

6 Dec 2018

Projects

4 Dec 2018

หยั่งราก Social Enterprise ด้วยระบบนิเวศที่ต้องสร้างร่วมกัน

กิจการเพื่อสังคมเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่ใช้แก้ปัญหาสังคม แต่ในไทยมีความท้าทายที่ยังไม่สามารถประคองธุรกิจให้ยั่งยืนได้ จึงเกิดกฎหมายส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมเพื่อเป็นกลไกหนึ่งในการสร้างระบบนิเวศที่เหมาะสมในการเติบโตของกิจการเพื่อสังคม

วจนา วรรลยางกูร

4 Dec 2018

Social Issues

2 Dec 2018

แด่อาจารย์อคิน รพีพัฒน์ นักสังคมวิทยา-มานุษยวิทยาที่ยิ่งใหญ่ แต่อ่อนน้อมถ่อมตัวที่สุด

นิพนธ์ พัวพงศกร รำลึกถึง ม.ร.ว.อคิน รพีพัฒน์ นักสังคมวิทยา-มานุษยวิทยาคนสำคัญของไทย ผ่านบทเรียนภาคสนามจากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลงานวิจัย

นิพนธ์ พัวพงศกร

2 Dec 2018

Interviews

29 Nov 2018

“เผด็จการเกลียดวิชาปรัชญา” โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์

โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ มองความเป็นไปได้ของสังคมไทยในการสอนวิชาปรัชญาในโรงเรียน ที่จะช่วยพัฒนาทักษะความคิดเชิงวิพากษ์ของนักเรียนจนถึงสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย

วจนา วรรลยางกูร

29 Nov 2018

Social Issues

27 Nov 2018

กรรมกรผู้กล้าฟ้องอธิบดีกรมที่ดิน เพื่อเรียกร้องธรรมชาติกลับคืนมา

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงเรื่องราวของ ‘ลุงเฉลียว ยันสาด’ กรรมกรตัวเล็กๆ ที่ลุกขึ้นมาทวงคืนพื้นที่ ‘บึงวงฆ้อง’ จังหวัดชัยนาท ให้กลับมาเป็นที่ดินสาธารณะ และสู้คดีจนสำเร็จ ทั้งๆ ที่ไม่มีพื้นฐานทางกฎหมาย และไม่มีทนายคอยช่วยเหลือ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

27 Nov 2018

Social Issues

27 Nov 2018

Plastic Hero คนเล็กเปลี่ยนโลก

เพชร มโนปวิตร เขียนถึงพลังของเด็กรุ่นใหม่ที่ลุกขึ้นมาเปลี่ยนโลก ตั้งใจลดการใช้พลาสติก และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง

ไล่เรียงไปตั้งแต่ หนูน้อยเอว่าผู้เขียนจดหมายหา Pizza Express สองพี่น้องเมลาติ-อิสซาเบล ผู้อยากให้บาหลีไม่มีพลาสติก เด็กหญิงมอลลี่ ผู้จัดตั้งโครงการ Straw No More มาจนถึงหนุ่มนักประดิษฐ์โบยัน คนรุ่นใหม่เหล่านี้สร้างแรงกระเพื่อมในโลกที่เป็นของพวกเขา

เพชร มโนปวิตร

27 Nov 2018

Spotlights

26 Nov 2018

Open Data และ AI กับก้าวใหม่ของการสร้างรัฐและสังคมที่ดีกว่า

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจากวงเสวนา ‘Open Data และ AI เพื่อความยุติธรรมที่ประชาชนมีส่วนร่วม’ ว่าด้วยการใช้ Open Data และ AI ในการส่งเสริมและพัฒนากระบวนการยุติธรรม และการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

26 Nov 2018

Social Problems

22 Nov 2018

หลักประกันสุขภาพที่รัก (22) : ผู้ต้องขังอีกครั้งหนึ่ง

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงความยุ่งเหยิงในกระบวนการพิจารณาคดี ของ ‘ผู้ป่วยจิตเภท’ พร้อมบอกเล่าประสบการณ์ตรง
ในฐานะที่เคยเป็น ‘พยานผู้เชี่ยวชาญ’

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

22 Nov 2018

Spotlights

20 Nov 2018

Open Data-AI เพิ่มอำนาจประชาชน เปิดช่องตรวจสอบด้วยข้อมูล

ความเห็นจากวงเสวนา ‘Open Data และ AI เพื่อความยุติธรรมที่ประชาชนมีส่วนร่วม’ ที่มุ่งศึกษาความเป็นไปได้ทางเทคโนโลยีเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหาความยุติธรรมในสังคมไทย

วจนา วรรลยางกูร

20 Nov 2018

Projects

20 Nov 2018

เด็ก และ อาชญากรรมที่เกิดบนก้อนเมฆ

เมื่อคดีล่วงละเมิดทางเพศเด็กย้ายสถานที่เกิดเหตุไปอยู่บนอินเทอร์เน็ต โดยมีผู้กระทำผิดเป็นคนที่เด็กและครอบครัวไว้ใจ เส้นทางการสืบสวนจะปรับเปลี่ยนให้เท่าทันภัยยุคดิจิทัลอย่างไร

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

20 Nov 2018
1 68 69 70 82

MOST READ

Interviews

5 May 2024

สวนกล้วยของคนจีน-ชีวิตอาบสารเคมีของคนลาว: เสถียร ฉันทะ

101 คุยกับ ผศ.ดร.เสถียร ฉันทะ ผู้ทำวิจัยเรื่องสวนกล้วยจีนในลาวและพม่า ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นและการคืบคลานของสวนกล้วยจีนที่ขยายไปในลุ่มน้ำโขง อย่างพม่าและกัมพูชา

วจนา วรรลยางกูร

5 May 2024

Social Issues

29 Apr 2024

‘ไม่เรียน ไม่ทำงาน ไม่มีความฝัน(?)’ ชีวิตที่ผ่านพ้นแบบวันต่อวันของเด็ก NEET

101 ชวนสำรวจชีวิตของเด็กนอกระบบการศึกษา นอกตลาดแรงงาน และไม่ได้รับการฝึกอบรม (NEET) ผู้อาศัยในชุมชนใจกลางเมืองกรุงเทพฯ

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

29 Apr 2024

Education

22 Apr 2024

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะสอนอย่างไร เมื่อ ChatGPT บุกห้องเรียน: ตัวอย่างการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะปรับตัวอย่างไรที่จะใช้ ChatGPT ในการเรียนการสอนอย่างสร้างสรรค์ เมื่อหลายเรื่องที่ฝึกฝนผู้เรียนอยู่ตอนนี้สามารถใช้โมเดลให้ทำได้ในพริบตา

ตะวัน มานะกุล

22 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save