fbpx

Thai Politics

23 Jan 2019

การเมืองของเพลงหาเสียง

อิสระ ชูศรี วิเคราะห์เพลงของพรรคการเมืองต่างๆ ที่กำลังตั้งขบวนสู่การเลือกตั้ง พร้อมฉายให้เห็นวิธีคิดระหว่างบรรทัด ว่าพรรคนั้นๆ ยึดโยงอยู่กับใครเป็นหลัก

อิสระ ชูศรี

23 Jan 2019

Law

23 Jan 2019

คนกับป่า : เมื่ออคติมาก่อนความจริงและความยุติธรรม

สนิทสุดา เอกชัย เขียนถึงอคติเรื่อง ‘คนกับป่า’ ซึ่งฝังรากลึกตั้งแต่ในระดับของเจ้าหน้าที่รัฐ ไปจนถึงคนในสังคม พร้อมตั้งข้อสังเกตว่า สถานการณ์เรื่องชาวบ้านบุกรุกป่า จะไม่มีทางบรรเทาลงได้ภายใต้ระบอบเผด็จการ

สนิทสุดา เอกชัย

23 Jan 2019

Thai Politics

22 Jan 2019

หายไปไหนมา ประชาธิปไตย ? : คุยกับ ศุ บุญเลี้ยง ว่าด้วย ‘สิทธิ’ และ ‘เสียง’ ที่หายไป

คุยกับ ศุ บุญเลี้ยง ว่าด้วยที่มาที่ไปของเพลง ‘ก๊อก ก๊อก ก๊อก’ ที่พูดถึงการกลับมาของประชาธิปไตย พร้อมชวนวิพากษ์สังคมไทย ในแง่มุมเขาไม่เคยเปิดเผยที่ไหนมาก่อน

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

22 Jan 2019

Thai Politics

17 Jan 2019

จากกรุงเทพฯ ถึงชายแดนใต้ คุยกับ ‘มารค ตามไท’ : เมื่อรัฐไทยเป็นพ่อแม่ที่ห้ามลูกฝัน

คุยกับมารค ตามไท เพื่อค้นหาสิ่งที่ซ่อนอยู่ใต้พรมสังคมไทย ทำไมฉากหลังเมืองแห่งรอยยิ้มคือเลือดที่นองแผ่นดินมายาวนาน ตั้งแต่สามจังหวัดชายแดนใต้ถึงสังคมไทย

ธิติ มีแต้ม

17 Jan 2019

Thai Politics

16 Jan 2019

เปิดห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร มองอนาคตการเมืองไทย กับ วรเจตน์ ภาคีรัตน์

วรเจตน์ ภาคีรัตน์ เปิด ‘ห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร’ ว่าด้วยอนาคตการเมืองไทย รัฐประหาร รัฐธรรมนูญ ศาล ตุลาการภิวัตน์ และสัญญาประชาคมใหม่

ปกป้อง จันวิทย์

16 Jan 2019

Law

16 Jan 2019

เมื่อองค์กรอิสระกลายเป็นภาระของประชาธิปไตย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงพัฒนาการและความตกต่ำของ ‘องค์กรอิสระ’ ตั้งแต่ยุครัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ซึ่งยึดโยงอยู่กับประชาชน มาจนถึงรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2560 ซึ่งถูกครอบงำเบ็ดเสร็จโดยระบอบอำนาจนิยม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

16 Jan 2019

Thai Politics

10 Jan 2019

ห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่ 3 : “ยุทธศาสตร์คือเรียกร้องศาลให้ต่อต้านรัฐประหารเชิงรับ”

ห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่สาม วรเจตน์ ภาคีรัตน์ วิพากษ์เนติบริกรและตุลาการภิวัตน์ในฐานะเครื่องมือของระบบรัฐประหาร

ปกป้อง จันวิทย์

10 Jan 2019

Thai Politics

10 Jan 2019

ห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่ 2 : “ถึงเวลาหาคำใหม่ ใช้แทน ‘รัฐธรรมนูญ’ ”

วรเจตน์ ภาคีรัตน์ เปิดห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่สอง สนทนาเรื่องอนาคตการเมืองไทยและสัญญาประชาคมใหม่

ปกป้อง จันวิทย์

10 Jan 2019

Thai Politics

9 Jan 2019

ห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่ 1 : “รัฐประหารเป็นเพียงระบบย่อยภายใต้ระบอบใหญ่ที่ตั้งชื่อไม่ได้”

101 ชวน วรเจตน์ ภาคีรัตน์ เปิดห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร สนทนาเรื่องอนาคตการเมืองไทย เริ่มคาบแรกด้วยมุมมองใหม่ในการเข้าใจการเมืองไทย – ระบบรัฐประหารในระบอบที่ตั้งชื่อไม่ได้

ปกป้อง จันวิทย์

9 Jan 2019

Thai Politics

7 Jan 2019

‘Digital Politics’ การเมืองใหม่ในโลกดิจิทัล กับ จันจิรา สมบัติพูนศิริ

คุยกับ จันจิรา สมบัติพูนศิริ ว่าด้วย ‘Digital Politics’ การเมืองรูปแบบใหม่ในยุคดิจิทัล เก็บความจากรายการ 101 one-on-one

กองบรรณาธิการ

7 Jan 2019

Thai Politics

7 Jan 2019

สวัสดีปีใหม่ 1 มกราคม – มรดกคณะราษฎร

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ เขียนถึง ‘วันขึ้นปีใหม่ไทย’ แบบต่างๆ ตั้งแต่ในอดีต เรื่อยมาถึงการกำหนดให้ 1 มกราคมเป็นวันปีใหม่ในยุคของ จอมพล ป. อันเป็นมรดกที่คณะราษฎรได้ทิ้งไว้ เพื่อสร้างชาติไทยให้เป็นสากล และมีความเป็นประชาธิปไตย

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์

7 Jan 2019

Thai Politics

4 Jan 2019

15 ปีไฟใต้ : เมื่อ ‘พิราบ’ ทบทวนเส้นทาง “สันติภาพ”

15 ปีที่ผ่านมาของวิกฤตสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ อะไรเป็นโจทย์สำคัญของวันนี้ เพื่อมองหาทางออกจากความเรื้อรังร่วมกัน ธิติ มีแต้ม เก็บความจากเสวนาของเหล่าพิราบที่ทำงานประเด็นดังกล่าว

ธิติ มีแต้ม

4 Jan 2019

Thai Politics

2 Jan 2019

‘สุณัย ผาสุข’ มองสิทธิมนุษยชน 2019 ความหวังไม่อาจแขวนบนความบิดเบี้ยว

วจนา วรรลยางกูร ชวน สุณัย ผาสุข พูดคุยถึงสถานการณ์สิทธิมนุษยชนที่น่าจับตามองในปี 2019 ทั้งกระแสโลกจนถึงกระแสไทยอันจะมีจุดเปลี่ยนสำคัญคือการเลือกตั้งซึ่งเป็นที่จับตาของนานาชาติ

วจนา วรรลยางกูร

2 Jan 2019

Thai Politics

26 Dec 2018

ทัศนะแบบไหนจะเปลี่ยนไทยสำเร็จ : 101 ชวนอ่านคนบนสนามการเมืองไทย

101 ชวนอ่านทัศนะทางการเมืองของ 16 นักการเมืองหน้าใหม่และเก่า พร้อมกับ 1 อดีตนักการเมืองที่วางมือทางการเมืองแล้ว และ 1 นายพล ผู้เป็นปากเป็นเสียงให้ คสช.

กองบรรณาธิการ

26 Dec 2018

Thai Politics

25 Dec 2018

การเมืองของ ‘ความหวัง’ กับการเมืองของ ‘ความจริง’ : การเมืองไทย 2018

สำรวจทัศนะทุกขั้วอุดมการณ์ ตั้งแต่นายพล นักวิชาการ หัวหน้าพรรคฯ ไปจนถึงประชาชนและเหยื่อทางการเมือง ในห้วงเวลาที่บ้านเมืองทึมเทาที่สุด

ธิติ มีแต้ม

25 Dec 2018
1 91 92 93 107

MOST READ

My Voice

10 Apr 2024

ระบอบทักษิณ-ระบอบประยุทธ์ จุดเริ่มต้นแตกต่าง ปลายทางเดียวกัน

ประทีป คงสิบ ชวนมองเปรียบเทียบ ‘ระบอบทักษิณ’ กับ ‘ระบอบประยุทธ์’ จากจุดเริ่มต้นที่แตกต่าง แต่ปลายทางกลับมีจุดหมายเดียวกัน

ประทีป คงสิบ

10 Apr 2024

Public Policy

12 Apr 2024

‘ดิจิทัลวอลเล็ต’ คนไทยได้อะไร? เสียอะไร?

101 PUB ชวนอ่านบทวิเคราะห์นโยบาย ‘ดิจิทัลวอลเล็ต’ หลังรัฐบาลแถลงรายละเอียด 10 เม.ย. 2024 การแจกเงิน 10,000 บาทนี้ คนไทยจะได้และเสียอะไรบ้าง

ฉัตร คำแสง

12 Apr 2024

Phenomenon

5 Apr 2024

ค่าจ้างขั้นต่ำกับคุณภาพความเป็นคน

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนคิดเรื่องการปรับขึ้น ‘ค่าจ้างขั้นต่ำ’ ที่ไม่ใช่แค่ประเด็นระดับจุลภาค แต่เกี่ยวโยงอย่างไรถึงโครงสร้างสังคมวัฒนธรรมไทย และเพราะอะไรการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำจะทั้งช่วยสร้างกลไกการแข่งขันที่เป็นธรรมและส่งเสริม ‘เสรีนิยม’ ทางเศรษฐกิจอย่างที่ควรจะเป็น

โตมร ศุขปรีชา

5 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save