fbpx

Law

9 Jan 2018

มอง ปตท. แจกข้าว ผ่านสายตากฎหมายการแข่งขันทางการค้า

กนกนัย ถาวรพานิช คณะนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ มองกรณี ปตท. แจกข้าว โดยความร่วมมือของกระทรวงพลังงาน ผ่านสายตากฎหมายแข่งขันทางการค้า

กนกนัย ถาวรพานิช

9 Jan 2018

Law

26 Dec 2017

การแต่งงานเพศเดียวกัน : คำสารภาพของนักนิติเศรษฐศาสตร์

นานวันเข้า การแต่งงานเพศเดียวกันได้รับการยอมรับจากสังคมมากขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นเรื่องถูกกฎหมายในหลายประเทศทั่วโลก ผู้คนจำนวนไม่น้อยเปลี่ยนความคิดไปจากเดิม และหนึ่งในนั้นคือ ริชาร์ด พอสเนอร์ เจ้าพ่อวิชา “นิติเศรษฐศาสตร์”

อิสร์กุล อุณหเกตุ สำรวจทัศนะของพอสเนอร์ว่าด้วยการแต่งงานเพศเดียวกัน ที่วิวัฒน์ข้ามกาลเวลา

อิสร์กุล อุณหเกตุ

26 Dec 2017

Law

13 Dec 2017

การเมืองไทยในสถานการณ์ “ซากศพปกครองคนเป็น”

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ตั้งคำถาม รัฐธรรมนูญควรถูกเขียนขึ้นใหม่ในแต่ละยุคสมัยหรือไม่ ทำอย่างไรให้ประเทศไทยไม่เดินหน้าเข้าสู่ยุคสมัย “ซากศพปกครองคนเป็น”

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

13 Dec 2017

Law

4 Dec 2017

ปฏิรูปการปล่อยชั่วคราวเพื่อความเสมอภาค

ท่ามกลางกระแสเรียกร้อง “ต้องไม่มีใครติดคุกเพราะจน” 101 ชวน ปกป้อง ศรีสนิท คณะนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เขียนเล่าเรื่องการปฏิรูปการปล่อยชั่วคราว ทั้งในเชิงสถานการณ์ หลักกฎหมาย ทางปฏิบัติ บทเรียนจากต่างประเทศ และแนวทางปฏิรูปเพื่อสร้างความเสมอภาคในไทย

ปกป้อง ศรีสนิท

4 Dec 2017

Law

11 Oct 2017

“ความสำเร็จที่ล้มเหลว” ของปรีดี เกษมทรัพย์ (ที่คณะนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์)

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ทบทวนคุณูปการของ ‘ปรีดี เกษมทรัพย์’ ที่มีต่อการบุกเบิกการเรียนการสอนนิติปรัชญาที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และตั้งคำถามถึง ‘ความหยุดนิ่ง’ ของสถานะความรู้ทางนิติปรัชญาของสถาบันทางกฎหมายแห่งนี้

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

11 Oct 2017

Law

13 Sep 2017

กลับไปอ่าน “ตุลาการภิวัตน์” ของธีรยุทธ บุญมี

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนกลับไปย้อนอ่านหนังสือ “ตุลาการภิวัตน์” ของธีรยุทธ บุญมี หนึ่งทศวรรษผ่านไป อะไรคือบทเรียนสำคัญของงานชิ้นนี้

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

13 Sep 2017

Law

16 Aug 2017

Blaming the Victim, Blaming the Student

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เล่าถึงหนึ่งในแนวคิดทางด้านนิติศาสตร์แนวสตรีนิยม (Feminist Legal Theory) นั่นคือ การโทษเหยื่อ หรือ “blaming the victims” แล้วใช้แนวคิดดังกล่าวในการมองปัญหาการข่มขืนและปรากฏการณ์ “มหาวิทยาลัยกลายเป็นค่ายทหาร” ในสังคมไทย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

16 Aug 2017

Law

14 Jun 2017

ศาลและระบอบเผด็จการ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างคณะรัฐประหารกับสถาบันตุลาการ มองบทบาทของสถาบันตุลาการภายใต้ระบอบอำนาจนิยม และทำความเข้าใจฝ่ายตุลาการในเชิงสถาบัน โดยเฉพาะในบริบทของวงวิชาการไทย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

14 Jun 2017

Law

10 May 2017

“โง่-จน-เจ็บ” ในกระบวนการยุติธรรม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนคิดเรื่องใหญ่ในระบบกฎหมายไทย เมื่อช่องว่างระหว่าง “โลกของกฎหมายในหนังสือ” กับ “ปฏิบัติการของกฎหมายในชีวิตจริง” ถ่างกว้างเป็นรูโหว่ขนาดใหญ่ จนทำให้การใช้กฎหมายของสามัญชนในโลกจริงมีอยู่น้อยมากเมื่อเปรียบเทียบกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้น และทำให้ “กระบวนการยุติธรรม” ส่งผลตรงกันข้าม กลายเป็น “กระบวนการอยุติธรรม”

อะไรคือสาเหตุของการตกเป็นเหยื่อในกระบวนการยุติธรรม?

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

10 May 2017

Law

11 Apr 2017

ปรับ-ค่า-ปรับ

ประมวลกฎหมายอาญาของไทยบังคับใช้มาตั้งแต่ปี 2499 ตั้งแต่สมัยพี่แดง ไบเล่ย์ และพี่ปุ๊ ระเบิดขวด ยังครองเมือง โดยแทบจะไม่มีการแก้ไขบทลงโทษตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนไปเลย

ท่านทราบหรือไม่ว่า มูลค่าที่แท้จริงของค่าปรับจะค่อยๆ ลดลงเมื่อเวลาผ่านไป จาก 2,000 บาทเมื่อปี 2499 จะเหลือเพียง 200 บาทในปัจจุบันเท่านั้น!

เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น? แล้วเราจะทำอย่างไรให้โทษปรับยังทรงพลังได้คล้ายเดิมเมื่อเวลาผ่านไป?

อิสร์กุล อุณหเกตุ นักวิจัยด้านนิติเศรษฐศาสตร์ (ศาสตร์ที่เอากฎหมายและเศรษฐศาสตร์มาแต่งงานกัน!) มีข้อเสนอเรื่อง “ปรับ-ค่า-ปรับ” ให้ชวนคิดกันต่อในรายงานพิเศษชิ้นนี้

อิสร์กุล อุณหเกตุ

11 Apr 2017

Law

5 Apr 2017

การปฏิรูปกฎหมายแข่งขันทางการค้า : ความหวังใหม่ของสังคมไทย?

ใครๆ ก็รู้สึกว่าเศรษฐกิจไทยเต็มไปด้วยการผูกขาด ประสบการณ์ถูกเอาเปรียบในฐานะผู้บริโภคก็เคยโดนเข้ากับตัวกันทั้งนั้น แต่เชื่อหรือไม่ว่า ตั้งแต่กฎหมายแข่งขันทางการค้าถูกบังคับใช้ในปี 2542 ยังไม่เคยมีผู้ประกอบธุรกิจถูกลงโทษแม้แต่รายเดียว!

เมื่อปลายเดือนมีนาคม 2560 มีการแก้ไขกฎหมายแข่งขันทางการค้าให้มีเขี้ยวเล็บในการสร้างความเป็นธรรมในการแข่งขัน และลงมือจัดการผู้ผูกขาดที่ใช้อำนาจในทางที่ผิดได้มากขึ้น

กนกนัย ถาวรพานิช อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ร่ำเรียนเขียนอ่านด้านกฎหมายแข่งขันทางการค้ามาอย่างต่อเนื่อง ชวนสำรวจประเด็นสำคัญของกฎหมายฉบับใหม่ และตอบคำถามว่า ทำอย่างไรให้การปฏิรูปกฎหมายแข่งขันทางการค้าในครั้งนี้เป็นความหวังใหม่ของสังคมไทยได้อย่างแท้จริง

กนกนัย ถาวรพานิช

5 Apr 2017

Law

16 Mar 2017

20 ปี รัฐธรรมนูญ 2540 : การปฏิรูปการเมืองไทยในอุ้งมือนักกฎหมายมหาชน

รัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2540 หรือ “ฉบับประชาชน” กำลังจะมีอายุครบ 20 ปี สมชาย ปรีชาศิลปกุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทบทวนเส้นทางการเมืองไทยในอุ้งมือนักกฎหมายมหาชน จาก พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2560 จากการปฏิรูปการเมืองแบบเสรีประชาธิปไตย สู่การปฏิรูปการเมืองแบบปฏิปักษ์ประชาธิปไตย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

16 Mar 2017
1 12 13

MOST READ

Law

25 May 2023

คำพิพากษาศาลฎีกา META แห่งเนติบัณฑิตไทย

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ ชวนมองปัญหาเนติบัณฑิตไทยที่ยึดคำพิพากษาฎีกาเป็นสรณะเพื่อให้สอบผ่าน ไม่ต่างจากการใช้เทคนิคเล่นเกมเดิมซ้ำๆ แบบ play to win จนหยุดทักษะการคิดวิเคราะห์ปัญหา

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ

25 May 2023

Politics

9 May 2023

ปฏิรูปกฎหมายหลังเลือกตั้ง

มุนินทร์ พงศาปาน วิเคราะห์ว่ากฎหมายไทยอยู่ในสภาวะวิกฤต ภารกิจสำคัญของรัฐบาลหลังเลือกตั้งจึงคือการปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม

มุนินทร์ พงศาปาน

9 May 2023

Politics

14 May 2023

มีอะไรในกฎหมาย : กฎหมายป้องกันการกระทำความผิดซ้ำ

ปกป้อง ศรีสนิท ชวนทำความรู้จักกฎหมายป้องกันการกระทำความผิดซ้ำที่เพิ่งบังคับใช้เมื่อเดือนมกราคมที่ผ่านมา โดยเป็นมาตรการเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้กระทำความผิดอุกฉกรรจ์กระทำความผิดซ้ำภายหลังได้รับการปล่อยตัวจากเรือนจำ

ปกป้อง ศรีสนิท

14 May 2023

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save