fbpx

Lifestyle

3 Nov 2020

ความคิดเบื้องหลังของ ‘In God, We Trust.’ ประโยคบนธนบัตรดอลลาร์สหรัฐฯ

ธีรภัทร เจริญสุข พาไปรู้จักความคิดเบื้องหลังของ ‘In God, We Trust.’ ประโยคบนธนบัตรดอลลาร์สหรัฐฯ ที่สะท้อนหลักสิทธิเสรีภาพของสหรัฐอเมริกา

ธีรภัทร เจริญสุข

3 Nov 2020

Lifestyle

3 Nov 2020

โบราณคดีร่วมสมัยของศพไร้ชื่อ และ อาหารจานโปรดในความทรงจำของแม่

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เขียนถึงโบราณคดีร่วมสมัยที่บอกเล่าเรื่องราวของบุคคลล่องหน ผู้ยากไร้ แรงงานนอกระบบ ไปจนถึงผู้สูญหายในอดีต และชวนเข้าครัวทำ ‘เซวิเช’ อาหารจานโปรดของหญิงสาวชาวเม็กซิกันที่ถูกบังคับสูญหาย

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

3 Nov 2020

Lifestyle

21 Oct 2020

แกงไก่ใส่ผักปูลิง (แกงไก่ใส่ใบชะพลู)

#กับข้าวกับแขก เดือนนี้ คำ ผกา ชวนแกงไก่ใส่ผักปูลิงหรือแกงไก่ใบชะพลู เมนูอร่อยที่ใช้ไก่บ้านจะยิ่งอร่อย หอมด้วยกลิ่นอันเป็นเอกลักษณ์ของใบชะพลู

คำ ผกา

21 Oct 2020

Lifestyle

4 Oct 2020

รสเผ็ดร้อนก่อนพริกเทศ: รอยรสชาติ โบราณพฤกษคดี และลาบเนื้อ

คอลัมน์โบราณการครัวตอนใหม่ ณัฎฐา ชื่นวัฒนา ชวนสำรวจการเดินทางของรสเผ็ด เราเริ่มเผ็ดพริกเทศกันตอนไหนในอดีต แล้วก่อนจะมีพริกเทศ รสเผ็ดโบราณเป็นอย่างไร เผ็ดจากวัตถุดิบอะไร

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

4 Oct 2020

Lifestyle

24 Sep 2020

ฮังเลไม่ “ยาก” แต่ “นาน”

#กับข้าวกับแขก ตอนใหม่ คำ ผกา ชวนทำแกงฮังเล อีกเมนูล้านนานที่ทำได้ไม่ยาก หากรู้จัก ‘รอ’ น้ำแกงเข้มข้น หมูสามชั้นฟินๆ กินพร้อมข้าวเหนียวนึ่งร้อนๆ เข้ากับบรรยากาศฟ้าหมาดฝนที่สุด

คำ ผกา

24 Sep 2020

Lifestyle

14 Sep 2020

Agony Uncle* Hema ลุงเฮม่าตอบปัญหา: นักปลดแอกโดนรุมกินโต๊ะและวัฒนธรรม-วัฒนเท

ลุงเฮม่าตอบปัญหา ว่าด้วยสถานการณ์ที่เด็กและผู้ใหญ่เห็นต่างกันกลางโต๊ะอาหาร และวัฒนธรรมที่คนรวมใจกัน ‘เท’ เพื่อต่อต้าน

ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์

14 Sep 2020

Lifestyle

8 Sep 2020

การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในสภาวะไร้นักท่องเที่ยว ถึงเวลาต้องเปลี่ยนแปลง?

มณฑิรา อูนากูล และ พรรษชล ขาวดี เก็บความจากการอภิปรายเรื่องความท้าทายและโอกาสสำหรับภาคมรดกทางวัฒนธรรมในประเทศไทยที่มองเห็นสำคัญของการปรับตัวท่ามกลางวิกฤตเพื่อนำไปสู่พัฒนาอย่างยั่งยืนในระยะยาว

กองบรรณาธิการ

8 Sep 2020

Lifestyle

3 Sep 2020

บาร์บีคิวอเมริกัน: ความหมายที่แปรเปลี่ยนและการเมืองเรื่องสีผิวของเนื้อรมควัน

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เล่าเรื่อง บาร์บีคิว กับประวัติศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงความหมายของอาหารจากนี้ไป จากอาหารของทาสผิวดำ อาหารที่ใช้หาเสียงเลือกตั้ง อาหารต้านคอมมิวนิสต์ ไปจนถึงอาหารที่ทวงคืนประวัติศาสตร์การต่อสู้ของคนผิวดำ

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

3 Sep 2020

โบราณการครัว

5 Aug 2020

แวววับ จับใจ ไร้ลิ้น: พัฒนาการของโบราณคดีชาตินิยมอลังการ กับ มื้ออาหารที่หายไป (2)

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เล่าพัฒนาการของการศึกษาโบราณคดีไทย ในยุคก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 เป็นต้นมา ที่โบราณคดียังคง ‘ไร้ลิ้น’ ไร้เรื่องราวของคนธรรมดา และเป็นการศึกษาอดีตเพื่อสะท้อนโลกทัศน์และอุดมคติของสังคมในปัจจุบัน

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

5 Aug 2020

Lifestyle

28 Jul 2020

Agony Uncle* Hema ลุงเฮม่าตอบปัญหา ว่าด้วย “PC” และรีวิวครึ่งปี 2020

ลุงเฮม่าตอบปัญหา ว่าด้วย “PC” ที่ไม่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และ “รีวิวครึ่งปี” ที่แม้ไม่อยากเราก็ต้องเกี่ยวข้องกับมัน

ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์

28 Jul 2020

Lifestyle

26 Jul 2020

พาสต้าง่ายในวันยาก

กับข้าวกับแขก ตอนใหม่ คำ ผกา แชร์วิธีการบริหารวัตถุดิบในครัว ให้คุณสามารถรังสรรค์เมนูอร่อยๆ จากวัตถุดิบดีๆ ได้ไม่ขาด พร้อมเผยสูตรพาสต้าทะเล ที่ใช้เวลาทำเพียงแค่ 12 นาที

คำ ผกา

26 Jul 2020

Lifestyle

21 Jul 2020

หากโลกนี้ไม่มีเก้าอี้

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง ตั้งคำถามถึงการมีอยู่ของเก้าอี้ ที่ ‘ดูเหมือน’ จะเป็นวัตถุที่เราขาดในชีวิตไม่ได้

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

21 Jul 2020

Life & Culture

13 Jul 2020

เจริโค นครที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษยชาติ

ธีรภัทร เจริญสุข พาไปรู้จัก ‘เจริโค’ เมืองเก่าแก่ที่ปรากฏในพระคริสตธรรมคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม ตั้งอยู่ในเขตเวสต์แบงค์ของปาเลสไตน์กลางหุบเขาจอร์แดน นับเป็นนครที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษยชาติ

ธีรภัทร เจริญสุข

13 Jul 2020

โบราณการครัว

9 Jul 2020

แวววับ จับใจ ไร้ลิ้น: การเมือง โบราณคดีชาตินิยมอลังการ กับมื้ออาหารที่หายไป (1)

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เขียนถึงการศึกษาโบราณคดีในสมัยก่อนที่มักจะเน้นคุณค่าความงามทางศิลปกรรม ส่งเสริมแนวความคิดชาตินิยมเพื่อสร้างอัตลักษณ์ของชาติ และไม่มีเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตมนุษย์สามัญธรรมดา

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

9 Jul 2020
1 13 14 15 29

MOST READ

Phenomenon

2 May 2024

พ่อแม่แบบไหนเสียใจที่มีลูก

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาคิดเรื่อง ‘ความเสียใจที่มีลูก’ ชวนมองย้อนไปถึงแรงกดดันจากสังคมซึ่งสัมพันธ์กับค่านิยมเรื่องสถาบันครอบครัว

โตมร ศุขปรีชา

2 May 2024

Phenomenon

25 Apr 2024

เดินเร็ว – แก่ช้า : เมื่อการเดินทำให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจ ‘วัฒนธรรมการเดิน’ อันเปรียบเสมือนของขวัญที่ทำให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์

โตมร ศุขปรีชา

25 Apr 2024

Phenomenon

10 May 2024

ความโง่กับอำนาจทางการเมือง : เราต่างมีความโง่เป็นของตัวเอง

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจเรื่อง ‘ความโง่’ ไล่เรียงตั้งแต่ที่มาของความโง่ ความโง่ของผู้นำประเทศ ตลอดจนการใช้ความโง่เป็นเครื่องมือทางการเมือง ชวนคิดหาวิธีคลี่คลายความโง่ที่เราทุกคนต่างก็มีร่วมกัน

โตมร ศุขปรีชา

10 May 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save