fbpx

Education

10 Oct 2022

จะเลี้ยงลูกในสังคมที่ไม่มีกฎหมายและจริยธรรมอย่างไรดี

ในวันที่โลกป่วย จะทำอย่างไรให้เด็กๆ ของเรามี ‘เอ็มพาธี’ คือความสามารถที่จะเห็นความทุกข์ของสรรพสิ่ง

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

10 Oct 2022

Social Issues

7 Oct 2022

จากห้องทดลอง สู่โลกจริง: เศรษฐศาสตร์เชิงทดลองกับการใช้ Growth Mindset และมุมมองด้านอาชีพเพื่อเปลี่ยนอนาคต

ชวนมองผลการทดลองการใช้ growth mindset และมุมมองด้านอาชีพเพื่อเปลี่ยนอนาคตในกลุ่มนักเรียนด้อยโอกาส

นรชิต จิรสัทธรรม

7 Oct 2022

US

7 Oct 2022

ความยุติธรรมนั้นอยู่ที่ไหน จากไทยแลนด์ถึงสหรัฐอเมริกา

จากเหตุการณ์ 6 ตุลาในไทยที่ยังหาผู้รับผิดไม่ได้ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณชวนมองไปถึงการเรียกร้องความเป็นธรรมของคนผิวดำในอเมริกา โดยต้องเริ่มต้นจากการทำให้ ‘ประวัติศาสตร์ของผู้ถูกกระทำ’ เป็น ‘ประวัติศาสตร์ชาติ’ และวิพากษ์ประวัติศาสตร์ชาตินิยมดั้งเดิมได้อย่างมีน้ำหนัก

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 Oct 2022

Politics

6 Oct 2022

ที่นี่มีคนตาย (แต่ไม่มีคนผิด?) : ความหวาดกลัวของรัฐลอยนวลกับการลงนาม ICC

101 ชวนทำความเข้าใจเรื่อง ICC โอกาสในการยื่นคดีให้พิจารณา เหตุผลที่ต้องให้สัตยาบัน ข้อถกเถียงเรื่องสถาบันพระมหากษัตริย์ และอุปสรรคที่ทำให้เรื่องนี้ยังไม่สำเร็จ

วจนา วรรลยางกูร

6 Oct 2022

Politics

29 Sep 2022

โหดร้ายเหมือนไม่ใช่คน

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนคิดถึงสาเหตุที่ทำให้คนธรรมดาคนหนึ่งสามารถออกคำสั่งที่โหดร้ายต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกันได้ โดยเฉพาะหากมองว่าสิ่งนี้เป็นเรื่องของ ‘ระบบ’

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

29 Sep 2022

Khonthai 4.0 x 101

23 Sep 2022

‘โลกผันผวน-สังคมซับซ้อน’ ตั้งหลักใหม่นโยบายสาธารณะ สร้างสังคมไทยมั่นคงในโลกเปลี่ยนแปลง

สรุปเวทีเสวนาสาธารณะ ‘ตั้งหลักใหม่ นโยบายสาธารณะแห่งอนาคต’ หนึ่งในแผนงานบูรณาการยุทธศาสตร์เป้าหมาย (Spearhead) ด้านสังคม คนไทย 4.0

กองบรรณาธิการ

23 Sep 2022

Kid For Kids

22 Sep 2022

Research Roundup 2022 : “จินตนาการใหม่-แผลเป็น-เปราะบาง” : อนาคตนโยบายเด็กและครอบครัวไทยในสามวิกฤต

พบกับการนำเสนองานวิจัยและวงสนทนาความรู้ 4 วงใน 4 หัวข้อแห่งยุคสมัย โดยนักวิจัยและแขกรับเชิญหลากหลาย

ตั้งแต่วันที่ 27-30 ก.ย. 65 บ่ายโมงตรงเป็นต้นไป

กองบรรณาธิการ

22 Sep 2022

Social Issues

22 Sep 2022

‘สตรี-ชีวิต-อิสรภาพ’ เมื่อผู้หญิงลุกมาเผาฮิญาบเพื่อประท้วงตำรวจศีลธรรมในอิหร่าน

สตรีในอิหร่านลุกขึ้นมาตัดผม-เผาฮิญาบเพื่อแสดงเจตจำนงต่อต้านต่อกฎระเบียบการแต่งกายอันเข้มงวดในประเทศ ภายหลังจาก มาห์ซา อามินี หญิงสาวคนหนึ่งถูกตำรวจศีลธรรมจับกุมและเสียชีวิตอย่างเป็นปริศนาจากนั้นไม่นาน ด้วยข้อหาว่าเธอแต่งกายผิดระเบียบที่รัฐกำหนด

พิมพ์ชนก พุกสุข

22 Sep 2022

TIJ x 101

20 Sep 2022

มองอนาคต-ปฏิรูประบบยุติธรรมในอาเซียน รับมือโลกยุคดิจิทัลและ New Normal

101 ชวนมองปัญหาของระบบยุติธรรมในอาเซียนท่ามกลางวิกฤตโควิด-19 และการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัล พร้อมหาแนวทางปฏิรูประบบยุติธรรมให้ตอบโจทย์อนาคต

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

20 Sep 2022

Social Issues

20 Sep 2022

เข้าใจ ‘วิกฤตการเรียนรู้ถดถอย’ บาดแผลจากโรคระบาดที่ตอกย้ำปัญหาใต้พรมการศึกษาไทย

สรุปความจาก 101 Policy Forum #18 ฟื้นฟูการศึกษา พาเด็กไทยออกจากวิกฤตการเรียนรู้ ที่ชวนกันมาเสนอการแก้ปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอย

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

20 Sep 2022

Social Issues

16 Sep 2022

‘การศึกษาไทยในวันที่โรงเรียนไร้อำนาจ’ – กระจายอำนาจการศึกษาคืนสู่โรงเรียน กับ สุกรี นาคแย้ม

101 สนทนากับ สุกรี นาคแย้ม ว่าด้วยโครงสร้างระบบการจัดการบริหารระบบการศึกษาอันเป็นเหตุให้โรงเรียนไม่มีอำนาจอย่างแท้จริง และแนวทางในการกระจายอำนาจการศึกษาที่ทำให้การศึกษาเจริญงอกงามได้อย่างยั่งยืนและทั่วถึง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

16 Sep 2022

Social Issues

13 Sep 2022

เด็กเล็กไทยสูญเสียการเรียนรู้แค่ไหนจากโควิด-19?

โควิด-19 ทำให้โลกชะงัก และทำให้การศึกษาต้องสะดุด โดยเฉพาะกับเด็กปฐมวัยที่ต้องหยุดไปโรงเรียนจนเกิดภาวะการเรียนรู้ถดถอย

วจนา วรรลยางกูร

13 Sep 2022

TIJ x 101

12 Sep 2022

เมื่อโควิด-19 เปลี่ยนระบบยุติธรรม และสั่นคลอนความเชื่อมั่นต่อระบบยุติธรรมในอาเซียน

101 ชวนมองสถานการณ์ระบบยุติธรรมของอาเซียนในช่วงเวลาแห่งการระบาดของโควิด-19 ที่ต้องเจอความท้าทายและภัยคุกคามที่ซับซ้อนมากขึ้น

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

12 Sep 2022

Projects

8 Sep 2022

‘จับดินสอผิด-ไม่มีสมาธิ-เขียนหนังสือกลับด้าน’ : มอง ‘การเรียนรู้ถดถอย’ ในเด็กเล็ก ผ่านสายตาครู-ผู้ปกครอง

จากภาวะโควิด-19 ทำให้สถานศึกษาต้องหันไปใช้ระบบเรียนออนไลน์ชั่วคราว ยังผลให้เกิดภาวะการเรียนรู้ถดถอยหรือ Learning Loss ในเหล่าเด็กปฐมวัยที่ต้องอยู่บ้านเป็นเวลานาน

101 ชวนสำรวจประเด็นนี้ผ่านสายตาของครูกับผู้ปกครองเด็กเล็ก

พิมพ์ชนก พุกสุข

8 Sep 2022

World

7 Sep 2022

‘อดอยากปากจมน้ำ’ ชีวิตในอนาคตอันใกล้ (ฉาก 1)

นิติ ภวัครพันธุ์ เล่าถึงการแก้ปัญหาเมืองจมน้ำอย่างยั่งยืนของเนเธอร์แลนด์ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างประตูกั้นน้ำขนาดยักษ์, การออกแบบบ้านเรือน ไปจนถึงการคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อรองรับปัญหาที่อาจะเกิดขึ้นในอนาคต

นิติ ภวัครพันธุ์

7 Sep 2022
1 20 21 22 82

MOST READ

Social Issues

29 Apr 2024

‘ไม่เรียน ไม่ทำงาน ไม่มีความฝัน(?)’ ชีวิตที่ผ่านพ้นแบบวันต่อวันของเด็ก NEET

101 ชวนสำรวจชีวิตของเด็กนอกระบบการศึกษา นอกตลาดแรงงาน และไม่ได้รับการฝึกอบรม (NEET) ผู้อาศัยในชุมชนใจกลางเมืองกรุงเทพฯ

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

29 Apr 2024

Education

22 Apr 2024

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะสอนอย่างไร เมื่อ ChatGPT บุกห้องเรียน: ตัวอย่างการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะปรับตัวอย่างไรที่จะใช้ ChatGPT ในการเรียนการสอนอย่างสร้างสรรค์ เมื่อหลายเรื่องที่ฝึกฝนผู้เรียนอยู่ตอนนี้สามารถใช้โมเดลให้ทำได้ในพริบตา

ตะวัน มานะกุล

22 Apr 2024

Sustainability

19 Apr 2024

“Let me flow free” คำร้องขอจากลุ่มน้ำสาละวิน ถึง ‘เขื่อนน้ำยวม’ กัมปนาทในความเงียบ

101 ชวนไปสบตาคนจากลุ่มน้ำสาละวินที่แม่ฮ่องสอนและฟังเรื่องราวของพวกเขาถึงการมาเยือนของโครงการผันน้ำยวม

วจนา วรรลยางกูร

19 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save