fbpx

Spotlights

8 Jun 2020

นโยบายศึกษาเชิงวิพากษ์ (1) : นโยบายสาธารณะกับวิกฤตสุขภาพอันแปรปรวน

ธีรพัฒน์ อังศุชวาล มองนโยบายสาธารณะช่วงวิกฤตโควิดและหลังจากนั้น ผ่านมุมมองนโยบายศึกษาเชิงวิพากษ์

ธีรพัฒน์ อังศุชวาล

8 Jun 2020

Talk Programmes

5 Jun 2020

101 One-On-One Ep.149 : “COVID-19 กับโอกาสใหม่ในการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมไทย” กับ กิตติพงษ์ กิตยารักษ์

มาร่วมกันหาคำตอบว่า โจทย์ว่าด้วยความยุติธรรมในยุค COVID-19 เปลี่ยนไปจากเดิมอย่างไร เราจะพลิกวิกฤตใหญ่ครั้งนี้เป็นจุดเปลี่ยนและเป็นโอกาสใหม่ในการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมไทย ให้มีประสิทธิภาพและเป็นธรรมมากขึ้น เพื่อคนทุกคนอย่างถ้วนหน้าเท่าเทียมกันได้อย่างไร

101 One-on-One

5 Jun 2020

Economy

5 Jun 2020

หนี้สาธารณะระดับไหนถึงเหมาะสม

พีรพัฒน์ ตัณฑวณิช สำรวจวิวาทะว่าด้วย ‘ระดับหนี้สาธารณะที่เหมาะสม’ ในวงวิชาการระดับโลก เพื่อตั้งคำถามถึงสถานะทางการคลังของประเทศไทยในยุควิกฤตโควิด-19

พีรพัฒน์ ตัณฑวณิช

5 Jun 2020

Education

4 Jun 2020

เปิดเทอมใหม่ สร้างโรงเรียนปลอดภัยให้ ‘ครู’

เปิดเทอมใหม่ โรงเรียนก็อาจต้องเปลี่ยนแปลงไป 101 ชวนอ่านมาตรการดูแลครู ทั้งเรื่องสุขภาพกายใจ ช่วยเหลือแผนการสอน และความมั่นคงในหน้าที่การงานหลังวิกฤตโควิด-19

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

4 Jun 2020

Talk Programmes

3 Jun 2020

101 One-On-One Ep.148 : “โจทย์ใหม่สังคมสูงวัยยุคหลัง COVID-19” กับ วรเวศม์ สุวรรณระดา

โจทย์เรื่องสังคมสูงวัยจึงเป็นเรื่องใหญ่ของประเทศ น่าสนใจว่าในยุค COVID-19 โจทย์เรื่องนี้เปลี่ยนไปอย่างไร วิกฤตครั้งนี้คลี่ให้เราเห็นปัญหาอะไรเกี่ยวกับสังคมสูงวัย และเราต้องคิดใหม่หรือคิดต่อเรื่องอะไรบ้าง

101 One-on-One

3 Jun 2020

Issue of the Age

2 Jun 2020

ญี่ปุ่นในสมรภูมิ COVID-19 กับ ธีวินท์ สุพุทธิกุล

101 สนทนากับ ผศ.ดร.ธีวินท์ สุพุทธิกุล ถึงสถานการณ์การแพร่ระบาด และการรับมือกับไวรัส COVID-19 ของประเทศญี่ปุ่น

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

2 Jun 2020

Education

31 May 2020

ราคาที่ต้องจ่ายในการปิดโรงเรียน

ราคาที่ผู้ใหญ่ในอนาคตจะต้องจ่ายไปจากการปิดโรงเรียนจะตีเป็นเงินเท่าไร? และต้องทำอย่างไรจึงจะลดราคาที่ต้องจ่ายได้?

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

31 May 2020

Spotlights

30 May 2020

101 In Focus Ep.41 : เมืองหลัง COVID-19

ภาพของเมืองใหม่หลังโรคระบาดจะมีหน้าตาเป็นแบบไหน โจทย์สำคัญสำหรับคนเมืองและการพัฒนาเมืองต่อจากนี้จะเป็นอย่างไร หาคำตอบได้ใน 101 In Focus สัปดาห์นี้

กองบรรณาธิการ

30 May 2020

Talk Programmes

29 May 2020

101 One-On-One Ep.146 : “นโยบายสู้ COVID-19 เฟสใหม่: ทำอย่างไรให้ไม่ต้องปิดเมืองซ้ำสอง”

สถานการณ์วิกฤต COVID-19 เข้าสู่การเปิดเมืองเฟสที่สาม การรับมือวิกฤตสุขภาพและวิกฤตเศรษฐกิจต่างสำคัญไม่แพ้กัน ความท้าทายคือเราจะหาสมดุลระหว่างการแก้ปัญหาเศรษฐกิจที่ต้องกลับมาให้เมืองมีชีวิตและผู้คนได้ใช้ชีวิต กับการควบคุมโรคที่อาจจะต้องจำกัดชีวิตเมืองและผู้คนอย่างไร
โจทย์เดิมในเฟสใหม่นี้มีอะไรเปลี่ยนไปบ้าง สมดุลใหม่อยู่ตรงไหน นโยบายรัฐต้องปรับอย่างไร

101 One-on-One

29 May 2020

Economic Focus

29 May 2020

2020 ปีแห่งวิบากกรรมของแรงงานไทย

วิมุต วานิชเจริญธรรม สำรวจข้อมูลแรงงานไทยในสถานการณ์โรคระบาด ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงวิบากกรรมของแรงงานไทย และวิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหม่ที่น่ากังวล

วิมุต วานิชเจริญธรรม

29 May 2020

Projects

29 May 2020

เปิดเทอมใหม่ โลกการศึกษาใหม่: ปรับโรงเรียน – เปลี่ยนครู – ปฏิรูปการเรียนรู้

สรุปความจาก 101 Public Forum “เปิดเทอมใหม่เอาไงดี? : ปรับโรงเรียน – เปลี่ยนครู – ปฏิรูปการเรียนรู้” โดย กสศ. และ 101

กองบรรณาธิการ

29 May 2020

Talk Programmes

28 May 2020

101 One-on-One Ep.147 : เมื่อเส้นแบ่งบ้านเรือนเลือนราง : มองที่อยู่อาศัยหลังโควิด-19 กับ รชพร ชูช่วย

หลังจากเกิดวิกฤตโควิด-19 รูปแบบการอยู่อาศัยของผู้คนจะเปลี่ยนไปอย่างไร 101 ชวน รชพร ชูช่วย อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาร่วมคิดในประเด็นเหล่านี้

101 One-on-One

28 May 2020

Issue of the Age

28 May 2020

อาชีพคนกลางคืน ไทยชนะจริงหรือ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เล่าถึงอาชีพคนกลางคืนที่ได้รับผลกระทบจากเคอร์ฟิว และพ.ร.ก.ฉุกเฉินที่ถูกขยายเวลาออกไป

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

28 May 2020
1 5 6 7 17

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save