fbpx

Thai Politics

12 Feb 2024

คำถามสุดท้ายของคัทลิน: ชีวิตของความชรา บ้าน และความทรงจำ

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘คำถามสุดท้ายของคัทลิน’ รวมเรื่องสั้นของ สุกัญญา หาญตระกูล นักวิจารณ์วรรณกรรมชื่อดังในช่วงทศวรรษ 2520 โดยเฉพาะงานวรรณกรรมสกุลเพื่อชีวิต โดยงานรวมเรื่องสั้นที่มีอายุร่วมสี่ทศวรรษของสุกัญญาเรื่องนี้ ยังทรงพลังทั้งในแง่การเลือกใช้ถ้อยคำ, โครงสร้างของเรื่อง และประเด็นอันร่วมสมัยซึ่งว่าด้วยการอพยพย้ายถิ่น

อาทิตย์ ศรีจันทร์

12 Feb 2024

Life & Culture

6 Dec 2023

มีเรื่องอยู่มากมายในนวนิยาย “กัลป์วิบัติ”

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘กัลป์วิบัติ’ นวนิยายเรื่องแรกโดย อนิธรา ที่พูดถึงเรื่องราวอันแสนร่วมสมัย ไม่ว่าจะประเด็นเรื่องโรคระบาด, ความรุนแรง หรือประเด็นความแหลกสลายของปัจเจก ผ่านเส้นเรื่องกึ่งไซ-ไฟอย่างการข้ามย้อนเวลากลับไปยังอดีตเพื่อจัดการอนาคตภายหน้า

และหากถอยออกมามองภาพรวม นวนิยายซึ่งฟังดูแสนจะดิสโทเปียเรื่องนี้ ก็คล้ายว่าจะสะท้อนสังคมอันแสนเศร้าและแสนร่วมสมัยของเราด้วยเช่นกัน

อาทิตย์ ศรีจันทร์

6 Dec 2023

Life & Culture

2 Oct 2023

มิลาน คุนเดรา และเสียงหัวเราะอันหนักอึ้งเหลือทนของเหล่าเทวดา: คำอุทิศและคำสารภาพจากนักอ่านเฟมินิสต์

วริตตา ศรีรัตนา เขียนคำอุทิศถึงผลงานและชีวิตของมิลาน คุนเดรา นักเขียนผู้รื้อถอนและถ่ายทอดยุโรปกลางผ่านเรื่องเล่าของความเป็นมนุษย์ได้อย่างแหลมคมที่สุดคนหนึ่ง

วริตตา ศรีรัตนา

2 Oct 2023

Life & Culture

26 Sep 2023

‘หญิงชรา’ ใน ‘เวลา’ มีอะไร มีอะไรจริงๆ!

จิรัฏฐ์ เฉลิมแสนยากร เขียนถึง ‘เวลา’ นวนิยายโดยชาติ กอบจิตติ ที่ว่าด้วยเรื่องราวของ ‘หญิงชรา’ และชวนคิดว่าในวันที่เราอยู่ในสังคมสูงวัย เรายังสนใจเรื่อง ‘คนชรา’ กันอยู่หรือไม่

จิรัฏฐ์ เฉลิมแสนยากร

26 Sep 2023

Interviews

28 May 2023

ความ ‘ไทยๆ’ ในโลกที่มีพระเจ้าหลายองค์: อ่านชีวิตและความคิดของเรเชล แฮร์ริสัน

101 คุยกับ เรเชล แฮร์ริสัน ศาสตราจารย์ประจำภาควิชาไทยศึกษาที่ SOAS ว่าด้วยมุมมองต่อสังคมไทย การเรียนการสอนวัฒนธรรมศึกษาไทยในอังกฤษ และชีวิต-ความคิดของเธอ

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

28 May 2023

Life & Culture

28 Apr 2023

Nowhere กลับไปจากมา: (มี) หนทางที่เราจะเข้าใจกัน (บ้างไหม)

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘Nowhere กลับไปจากมา’ รวมเรื่องสั้นของ ลัดดา สงกระสินธ์ ที่ว่าด้วยชีวิตและใบหน้าของผู้คนทั้งกระแสหลัก กระแสรอง คนชายขอบ ในสังคมร่วมสมัยซึ่งค่านิยมไหลเปลี่ยนไปแทบจะทุกนาที

อาทิตย์ ศรีจันทร์

28 Apr 2023

Life & Culture

5 Apr 2023

กลับไปอ่าน “มันมากับการเลือกตั้ง” ของ ศรีดาวเรือง อีกครั้งในวาระก่อนการเลือกตั้ง 2566

ในวาระโค้งสุดท้ายของการเลือกตั้ง 2566 ที่กำลังจะมาถึงนี้ อาทิตย์ ศรีจันทร์ ชวนกลับไปอ่านเรื่องสั้น ‘มันมากับการเลือกตั้ง’ ของ ศรีดาวเรือง ที่พูดถึงการเมือง การเลือกตั้ง และเรื่องผลประโยชน์ของชาวบ้านร้านช่อง ที่อาจถูกปัญญาชนมองว่าไร้คุณค่า (เพราะอย่าลืมว่าเคยมีคนกล่าวมาแล้วในอดีตว่า เสียงของคนกรุงเทพฯ นั้นมีคุณภาพมากกว่าเสียงคนต่างจังหวัด!)

อาทิตย์ ศรีจันทร์

5 Apr 2023

Life & Culture

5 Jan 2023

การมอดไหม้ที่พ้นผ่านไปนานแล้ว… เหลือไว้เพียงความชำรุดและบอบช้ำ

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึงหนังสือรวมเรื่องสั้นของ ทานเกวียน ชูสง่า ‘การมอดไหม้ที่พ้นผ่านไปนานแล้ว’ สำรวจภาพความแตกสลายของคนแต่ละรุ่นในครอบครัวใหญ่ของสังคมไทย

อาทิตย์ ศรีจันทร์

5 Jan 2023

Life & Culture

1 Dec 2022

สามก๊กฉบับวณิพก: ฉากจีนในไทย จากปฏิวัติ 2475 ถึงวาระสุดท้ายของยาขอบ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘สามก๊กฉบับวณิพก’ วรรณกรรมอีกเรื่องของยาขอบที่เขียนไม่จบ ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากในหมู่นักอ่าน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

1 Dec 2022

Life & Culture

29 Sep 2022

‘ผู้ชนะสิบทิศ’ วรรณกรรมหลังปฏิวัติ 2475 ที่ฉายความรุ่งโรจน์ของสามัญชนกับมรณกรรมของผู้ประพันธ์

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘ผู้ชนะสิบทิศ’ นิยาย ‘ปลอมประวัติศาสตร์’ เล่มตำนานของยาขอบ เรื่องราวที่มีตัวเอกเป็นชาวพม่าอย่าง ‘จะเด็ด’ ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในช่วงตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์ประชาชาติ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

29 Sep 2022

Media

5 Nov 2021

101 In Focus Ep.104 : หรือเรากำลังอยู่ใน ‘ดิสโทเปีย’ ?

101 In Focus สัปดาห์นี้มาร่วมกันหาคำตอบว่า นอกจากความทุกข์ยาก หดหู่ วรรณกรรมดิสโทเปียทำงานกับชีวิตของผู้คนและสะท้อนโลกความจริงอย่างไร 

กองบรรณาธิการ

5 Nov 2021

Life & Culture

26 Oct 2021

จาก 1984 ถึง 2021 วรรณกรรม ‘ดิสโทเปีย’ บอกอะไรกับเรา – คารินา โชติรวี

101 ชวน ผศ.ดร.คารินา โชติรวี อดีตอาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาสนทนาว่าด้วยวรรณกรรมยูโทเปียและดิสโทเปีย สำรวจลักษณะและองค์ประกอบของโลกสมมติทั้งสองแบบ และทบทวนสิ่งที่วรรณกรรมอาจบอกกับเรา

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

26 Oct 2021

Media

30 Sep 2021

101 Gaze Ep.5 “หรือเรากำลังอยู่ใน ‘ดิสโทเปีย’ ?”

101 Gaze ชวนสำรวจสังคมไทยในวิกฤตโรคระบาดและการเมือง เราสอบผ่านความเป็นดิสโทเปียหรือไม่ และความหวังของผู้คนในห้วงเวลามืดมนนี้จะส่องประกายอย่างไร หาคำตอบไปกับ ผศ.ดร.คารินา โชติรวี อดีตอาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ เอกลักษณ์ หลุ่มชมแข หัวหน้าศูนย์ข้อมูลคนหายเพื่อการต่อต้านการค้ามนุษย์ มูลนิธิกระจกเงา

กองบรรณาธิการ

30 Sep 2021

Life & Culture

16 Sep 2021

เมื่อนักเขียนไทยเลี้ยวขวา และวรรณกรรมถูกทำให้ศักดิ์สิทธิ์ คุยกับชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์

101 ชวน รศ.ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ มาคุยว่าด้วยเรื่องลักษณะทางวัฒนธรรมที่เปลี่ยนไปของวงการวรรณกรรมไทย และคุณค่าความหมายของวรรณกรรมในโลกปัจจุบัน

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

16 Sep 2021
1 2 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save