fbpx

Thai Politics

23 Jan 2024

ปรีดีหนี ครั้งหลัง พ.ศ.2492

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เล่าเรื่องราว ‘ปรีดีหนี’ หลังล้มเหลวในปฏิบัติการ 26 ก.พ. 2492 หรือ ‘กบฏวังหลวง’ ผ่านคำบอกเล่าขององครักษ์คนสนิท ชนิดเห็นภาพทุกเหตุการณ์

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

23 Jan 2024

Social Issues

27 Dec 2023

สิทธิมนุษยชน 2566 : คนยังไม่เท่ากันและความยุติธรรมยังไม่เท่าเทียม

101 ขอพาคุณไปมองปัญหาว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและความยุติธรรมที่ผ่านมาในปีที่ดูเหมือนว่าสถานะของคนยังไม่เท่ากันและความยุติธรรมยังเกิดกับประชาชนอย่างไม่เท่าเทียม

กองบรรณาธิการ

27 Dec 2023

Thai Politics

8 Nov 2023

‘ธำรงหนี’ 8 พฤศจิกายน 2490 จุดสิ้นสุดอำนาจของคณะราษฎรสายพลเรือน

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เล่าการหลบหนีของ ‘หลวงธำรงฯ’ – พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ อดีตนายกฯ จากคณะราษฎรสายพลเรือน เมื่อเกิดรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

8 Nov 2023

Social Issues

30 Aug 2023

“แล้วกลับมากินข้าวด้วยกันนะ” : มื้ออาหารในความทรงจำของผู้สูญหาย และความแตกสลายของคนที่ยังรอ

ร่วมรับฟัง 5 เรื่องราวของผู้ถูกบังคับให้สูญหาย ผ่านอาหารจานโปรดของเขาและครอบครัว เพื่อสื่อสารเรื่องราวความเจ็บปวดจากอาชญากรรมโดยรัฐที่ยังไม่เคยได้รับการเยียวยา

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

30 Aug 2023

Life & Culture

7 Jun 2023

รอยลบ รอยลับ รอยอาลัย: บ้านพักชนชั้นนำสยามผู้ลี้ภัยในปีนัง

ธนาวิ โชติประดิษฐ ชวนเดินเท้าตามรอย
ย่านที่พักอาศัยของชนชั้นนำสยามผู้ลี้ภัยการเมืองหลังการปฏิวัติ 2475 ในปีนัง

ธนาวิ โชติประดิษฐ

7 Jun 2023

Interviews

6 Nov 2022

จาก ‘เมนู’ สู่ ‘เมลิญณ์’ ในวันที่กรงขังไม่อาจจองจำเธอได้

101 คุยกับ เมลิญณ์-สุพิชฌาย์ ชัยลอม ถึงการคุกคามและดำเนินคดีโดยรัฐจนทำให้เธอและเพื่อนต้องตัดสินใจลี้ภัยทางการเมืองในวัย 20 ปี

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

6 Nov 2022

Thai Politics

14 Jul 2022

จอมพล ป. ลี้ภัย พ.ศ. 2500 บทอวสานผู้นำคณะราษฎรคนสุดท้าย

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนถึงเรื่องราวการผจญอุปสรรคระหว่างลี้ภัยของจอมพล ป.พิบูลสงคราม หลังการรัฐประหาร 2490 โดยลูกน้องคนสนิท จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

14 Jul 2022

Politics

8 Jul 2021

“วันที่รู้ว่าโดน 112 เหมือนโลกถล่มแผ่นดินทลาย” ณัฏฐิกา วรธันยวิชญ์ กับชีวิตผู้ลี้ภัยในต่างแดน

วจนา วรรลยางกูร คุยกับณัฏฐิกา วรธันยวิชญ์ ผู้ลี้ภัยไทยในอเมริกา ถึงชีวิตของเธออันเป็นภาพสะท้อนผลพวงจากการรัฐประหาร 2557 ที่ทำลายชีวิตผู้คนจำนวนมากต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน

วจนา วรรลยางกูร

8 Jul 2021

Life & Culture

6 Apr 2021

How do we regard and recall what Susan Sontag has so powerfully described as the “pain of others?”

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงนิทรรศการศิลปะของ พรีมา ชาลีจันทร์-ศกุนตาภัย และปรัชญา พิณทอง ซึ่งมีแง่มุมเกี่ยวกับเหตุการณ์ลี้ภัยทางการเมืองของปรีดี พนมยงค์

ธนาวิ โชติประดิษฐ

6 Apr 2021

Interviews

6 Oct 2020

“คุณจะไม่โกรธสังคมอยุติธรรมแบบนี้ได้อย่างไร” วัฒน์ วรรลยางกูร

สมคิด พุทธศรี สนทนากับ วัฒน์ วรรลยางกูร ว่าด้วยชีวิตความเป็นอยู่ในฝรั่งเศส ชวนวิเคราะห์การเมืองไทยปัจจุบัน และถอดบทเรียนโศกนาฏกรรม ‘6 ตุลา’ อีกครั้ง

สมคิด พุทธศรี

6 Oct 2020

Interviews

1 Jul 2020

พ่อของเขา ความทรงจำของเรา และความตายที่ไม่มีวันจบ

วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ กึกก้อง บุปผาวัลย์ ลูกชายของ ‘สหายภูชนะ’ ผู้ลี้ภัยการเมืองที่ถูกอุ้มฆ่า ถึงความทรงจำระหว่างพ่อลูก และคำถามมากมายที่ติดอยู่ในใจเขา

วจนา วรรลยางกูร

1 Jul 2020

Media

28 Oct 2019

101 in focus EP.13 : ผู้ลี้ภัยมาจากไหน

101 In Focus ว่าด้วยปัญหาผู้ลี้ภัยรอบด้าน ทั้งผู้ลี้ภัยต่างประเทศในไทย ผู้ลี้ภัยการเมืองไทยในต่างประเทศ ผู้ลี้ภัยที่ถูกฆาตกรรมและอุ้มหาย จนถึงนโยบายเกี่ยวกับผู้ลี้ภัยของพรรคการเมือง

กองบรรณาธิการ

28 Oct 2019

Justice & Human Rights

27 Sep 2019

ประเทศไร้ใบหน้า ผู้คนไร้แผ่นดิน ตามหาความเป็นมนุษย์ในคำว่า ‘ชาติ’

วจนา วรรลยางกูร ชวนมองปัญหาผู้ลี้ภัยที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทยผ่านหลากตัวละคร อันสะท้อนความบกพร่องของรัฐไทยที่ยังไม่ให้ความสำคัญต่อคุณค่าความเป็นมนุษย์อย่างเพียงพอ

วจนา วรรลยางกูร

27 Sep 2019

Thai Politics

6 Aug 2019

ชีวิตใหม่ของคนนอกขนบ ‘อั้ม เนโกะ’ และเส้นทางต่อสู้เพื่อสิทธิ LGBT

วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ อั้ม เนโกะ ผู้ลี้ภัยการเมืองไทยและนักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิ LGBT ในฝรั่งเศส ถึงชีวิตใหม่หลังเดินทางออกจากประเทศไทย และการทำงานเพื่อผู้อพยพที่มีความหลากหลายทางเพศ

วจนา วรรลยางกูร

6 Aug 2019

Thai Politics

24 Jul 2019

“ผมเป็นพวกสากลนิยม” จรัล ดิษฐาอภิชัย จากกรรมการสิทธิฯ สู่ชีวิตลี้ภัยการเมือง

วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ จรัล ดิษฐาอภิชัย อดีต กสม. และอดีตแกนนำ นปช. ถึงชีวิต 5 ปีในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมืองบนแผ่นดินฝรั่งเศส และความใฝ่ฝันถึง ‘สังคมอุดมคติ’

วจนา วรรลยางกูร

24 Jul 2019
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save