fbpx

Politics

1 Dec 2023

101 In Focus Ep.206: ITA อุตสาหกรรมผลิตคุณธรรมกลบเกลื่อนความจริง? 

101 In Focus สัปดาห์นี้ พาไปวิเคราะห์เจาะลึกการประเมิน ITA ของ ป.ป.ช. ว่ามีระบบแบบไหน ช่องว่างแบบใดที่ทำให้คะแนนหน่วยงานราชการพุ่งสูง และมีข้อเสนอเชิงนโยบายอะไรที่จะทำให้การประเมินนี้เป็นประโยชน์ต่อประชาชนอย่างแท้จริง

กองบรรณาธิการ

1 Dec 2023

Economy

14 Nov 2023

วัฒนธรรมผูกขาดกับการยึดกุมกลไกกำกับดูแลของทุนไทย – สฤณี อาชวานันทกุล

101 คุยกับ ‘สฤณี อาชวานันทกุล’ ว่าด้วยวัฒนธรรมผูกขาดและการยึดกุมกลไกกำกับดูแล เพื่อหาคำตอบว่า ทำไมการผูกขาดจึงเป็นเรื่องที่ต่อสู้ได้ยากในสังคมไทย

สมคิด พุทธศรี

14 Nov 2023

World

11 May 2022

ล้างผลาญทุจริต: การเมืองของชนชั้นนำในเวียดนาม

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงการกวาดล้างคอร์รัปชันคนระดับสูงในเวียดนาม โดยการนำของ เหงียน ฝู จ่อง เลขาธิการใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

11 May 2022

Curious Economist

9 Jan 2022

คลี่คลายวาทกรรม ‘จำนำข้าว’: ขาดทุนเท่าไหร่ คอร์รัปชันอย่างไร และมีประสิทธิภาพหรือไม่

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ คลี่คลายวาทกรรม ‘จำนำข้าว’ นโยบายในสมัยอดีตนายกฯ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ให้เห็นว่าตกลงแล้วโครงการนี้ขาดทุนเท่าไหร่ คอร์รัปชันอย่างไร และมีประสิทธิภาพหรือไม่

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

9 Jan 2022

Thai Politics

9 Dec 2021

เกม 3 ด่านกับ ‘ระบบ’ ต้านโกง : เมื่อ ‘คนดี’ ไม่ใช่คำตอบของการกำจัดทุจริต

พริษฐ์ วัชรสินธุ เสนอการออกแบบ ‘เกม 3 ด่านต้านโกง’ เพื่อสร้างระบบที่ดีในการชนะคอร์รัปชัน โดยไม่ต้องหวังพึ่ง ‘คนดี’

พริษฐ์ วัชรสินธุ

9 Dec 2021

Curious Economist

31 Aug 2021

กายวิภาคของคอร์รัปชัน ปัญหาใหญ่ที่แค่พูดคงจะหยุดไม่ได้

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ ผ่ากายวิภาคของการคอร์รัปชัน ในมุมมองทางเศรษฐศาสตร์ ผ่านงานวิจัยเชิงประจักษ์จากหลายประเทศ

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

31 Aug 2021

Public Policy

18 Mar 2021

ปราบโกงอย่างไร สินบนถึงได้งอกงาม : มุมมองจากเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม

ฉัตร คำแสง พามองปัญหาสินบนในมุมมองเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม เพื่อหาคำตอบว่า ทำไมสินบนในไทยถึงยังงอกงามเรื่อยๆ แม้จะมีการปราบโกง

ฉัตร คำแสง

18 Mar 2021

Thai Politics

15 Feb 2021

จากโควิดถึงโคสันหลังหวะ โรคระบาดทางจริยธรรม ภูมิคุ้มกันความดีบกพร่อง

อายุษ ประทีป ณ ถลาง มองสังคมไทยผ่านการปรากฏตัวของสื่อมวลชนที่มีบทบาทสร้างความเสียหายให้ประเทศชาติ เมื่อมาตรฐานการทำงานสื่ออาจหาได้ยากในบ้านเมืองที่ภูมิคุ้มกันความถูกต้องดีงามบกพร่อง

อายุษ ประทีป ณ ถลาง

15 Feb 2021

Science & Innovation

10 Dec 2020

อำนาจทำให้ฉ้อฉล? : ทำไมคนมีอำนาจจึงมักคอร์รัปชัน

นำชัย ชีววิวรรธน์ พาไปรู้จักวิทยาศาสตร์แห่งการฉ้อฉล เพราะอะไรเมื่อคนอยู่ในอำนาจจึงมักคอร์รัปชันและเอาเปรียบผู้อื่น

นำชัย ชีววิวรรธน์

10 Dec 2020

Asean

10 Feb 2020

‘หมวย’ นักสิ่งแวดล้อมหญิง นักแอนตี้คอร์รัปชันชาวลาวที่โลกควรรู้จัก

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล และ ศุภกฤต เขียนถึง ‘หมวย’ ผู้หญิงธรรมดาที่ค้นพบว่าเสียงของเธอมีความหมาย และใช้มันส่งเสียงถึงความไม่เป็นธรรมรอบตัว

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

10 Feb 2020

Interviews

29 Mar 2019

5 ปีรัฐประหาร – 5 ปีปราบโกง ในสายตา ‘มานะ นิมิตรมงคล’

มานะ นิมิตรมงคล ประเมินผลงานด้านคอร์รัปชันในยุค คสช. ที่มีแนวโน้มปิดกั้นข้อมูลมากขึ้นและมีประเด็นน่ากังขาหลายเรื่อง

วจนา วรรลยางกูร

29 Mar 2019

Spotlights

5 Nov 2018

Blockchain เพื่อความโปร่งใส: เราทำอะไรได้บ้าง

‘Blockchain’ ในฐานะเทคโนโลยีที่จะเข้ามาเปลี่ยนโฉมอนาคต ด้วยคุณลักษณะเด่นที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สามารถย้อนกลับไปตรวจสอบความโปร่งใสได้ เทคโนโลยีนี้จึงเริ่มถูกนำมาใช้ประโยชน์กับเรื่องอื่นๆ นอกเหนือจากโลกการเงินด้วย

กองบรรณาธิการ

5 Nov 2018

Spotlights

26 Oct 2018

การใช้ ‘Blockchain’ เพื่อความโปร่งใส : ตัวอย่างในต่างประเทศ และความเป็นไปได้ในไทย

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เก็บความจากวงเสวนาโต๊ะกลม หัวข้อ ‘เทคโนโลยี Blockchain เพื่อความโปร่งใสและความรับผิดชอบ’ ซึ่งภาคส่วนต่างๆ มาระดมสมองกันหาคำตอบดังกล่าว ว่าด้วยการใช้ Blockchain ในกระบวนการยุติธรรม

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

26 Oct 2018

World

14 May 2018

การ “ปฏิวัติ” ผ่านคูหาเลือกตั้งที่มาเลเซีย

ประจักษ์ ก้องกีรติ วิเคราะห์ผลการเลือกตั้งมาเลเซีย ปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้ฝ่ายรัฐบาลนำโดยพรรคอัมโน ที่ครองอำนาจมานานถึง 61 ปี ต้องพ่ายแพ้ในการเลือกตั้งครั้งนี้

ประจักษ์ ก้องกีรติ

14 May 2018

Thai Politics

3 Apr 2018

นาฬิกาประวิตร : อย่าหยุดที่การแซะ

เหตุใดวัฒนธรรมการแซะจึงทำอะไรพลเอกประวิตรผู้ครอบครองนาฬิกาหรูไม่ได้ วิธีการตรวจสอบอำนาจรัฐด้วยการเสียดสีและอารมณ์ขันมีช่องว่างใดน่าเติมเต็ม

ชลธร วงศ์รัศมี

3 Apr 2018
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017