fbpx

Asia

23 Dec 2019

แอปเปิล อาร์เซ็ป และอินเดีย

ปิติ ศรีแสงนาม เปรียบ RCEP เป็นแอปเปิลของ Isaac Newton โดยใช้กฎความโน้มถ่วงสากลของนิวตันอธิบายความเป็นไปของเขตการค้าเสรีที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งกำลังจะเกิดขึ้น

ปิติ ศรีแสงนาม

23 Dec 2019

World

28 Oct 2019

จับตา ASEAN Summit: RCEP ท่ามกลางสงครามการค้า

ปิติ ศรีแสงนาม ชวนมองประเด็นที่น่าสนใจในการประชุมสุดยอดอาเซียนที่กำลังจะเกิดขึ้น โดยเฉพาะประเด็นการประชุมสุดยอดความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค หรือ RCEP ที่จะนำไปสู่เขตการค้าเสรีที่ใหญ่ที่สุดในโลก แต่ก็ยังมีประเด็นท้าทายอยู่มาก

ปิติ ศรีแสงนาม

28 Oct 2019

Asia

2 Oct 2019

150 ปี มหาตมะ คานธี: อุดมการณ์ ข้อครหา และลูกหลานในปัจจุบัน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงชีวิตของมหาตมะ คานธี และจุดบกพร่องทางความคิดของเขาที่มีรอยด่างพร้อยไม่แตกต่างจากคนธรรมดา แต่เป็นคนธรรมดาที่ลุกขึ้นมาเปลี่ยนแปลงโลกด้วยสองมือและสติปัญญา

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

2 Oct 2019

Asia

19 Sep 2019

อินเดียในกระแสโลก กับ สุรัตน์ โหราชัยกุล

เนื้อหาบางส่วนจากการพูดคุยกันในรายการ 101 One-on-One Ep.87 ‘อ่านอินเดียในกระแสโลก’ กับ ผศ.สุรัตน์ โหราชัยกุล ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กองบรรณาธิการ

19 Sep 2019

Talk Programmes

11 Sep 2019

101 One-on-One EP.87 “อินเดียในกระแสโลก” กับ สุรัตน์ โหราชัยกุล

จากการการประกาศยกเลิกสถานะพิเศษให้กับรัฐจัมมูและแคชเมียร์ ที่เคยได้รับนับตั้งแต่ปี 1950 เราควรเข้าใจอินเดียอย่างไร และอะไรคือนัยอันแหลมคมของอินเดียต่อภูมิภาคและโลก คุยกันเรื่องอินเดียแบบลึกๆ กับ ผศ.สุรัตน์ โหราชัยกุล ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

101 One-on-One

11 Sep 2019

Asia

9 Sep 2019

แคชเมียร์ปัญหาสามเส้า อินเดีย ปากีสถาน และจีน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชี้ให้เห็นความสำคัญของดินแดนแคชเมียร์ในทางภูมิศาสตร์เศรษฐกิจและการเมือง ที่กลายเป็นปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของอินเดีย ปากีสถาน และจีน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

9 Sep 2019

Asia

8 Aug 2019

การผนวกรัฐจัมมูและแคชเมียร์ของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจความขัดแย้งของอินเดียกับรัฐจัมมูและแคชเมียร์ที่เพิ่งมีการประกาศยกเลิกสถานะพิเศษที่ให้สิทธิความเป็นอิสระจากรัฐบาลกลาง

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

8 Aug 2019

Asia

19 Jul 2019

การจัดการความหลากหลายในแบบฉบับอินเดีย

อินเดียจัดการความแตกต่างหลากหลายอย่างไรกับ ประชาชน 1.2 พันล้านคน ภาษากว่า 1,000 ภาษา และศาสนาอีกมากมาย ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงการอยู่ร่วมกับความหลากหลายของแดนภารตะ หลังประเด็นนี้ถูกหยิบยกขึ้นมาในรัฐสภาไทย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

19 Jul 2019

Asia

27 Jun 2019

เมื่ออินเดียไม่อยากเป็นเพียงมหาอำนาจของเอเชียใต้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก มองการขยับตัวครั้งสำคัญของอินเดีย เมื่อนายกฯโมดีเลือกเชิญประเทศสมาชิก BIMSTEC ซึ่งรวมถึงไทยและพม่า มาเป็นสักขีพยานการสาบานตนรับตำแหน่ง แทนที่จะเชิญประเทศสมาชิก SAARC เหมือนที่ผ่านมา

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

27 Jun 2019

Asia

23 Apr 2019

บทบาทขั้วการเมืองที่สามกับระบบรัฐบาลผสมหลังการเลือกตั้งของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์การเลือกตั้งอินเดียที่กำลังเกิดขึ้นในระยะเวลา 39 วันนี้ โดยมองว่าไม่ว่าผลจะออกมาเป็นอย่างไรกลุ่มพันธมิตรขั้วที่สามจะเป็นตัวแปรสำคัญในการจัดตั้งรัฐบาล ซึ่งมีการประกาศตัวเป็นพันธมิตรกันก่อนการเลือกตั้งแล้ว

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

23 Apr 2019

Asia

15 Jan 2019

ถอดรหัสบทสัมภาษณ์นายกรัฐมนตรีอินเดีย ก่อนสู้ศึกเลือกตั้ง 2019

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์การให้สัมภาษณ์ของ นเรนทรา โมดี นายกรัฐมนตรีอินเดีย เมื่อวันที่ 1 มกราคมที่ผ่านมา ซึ่งถูกตั้งข้อสังเกตว่า เป็นการพีอาร์ตัวเองเพื่อปูทางสู่การเลือกตั้ง มากกว่าการถามตอบข้อสงสัยที่สังคมอยากรู้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

15 Jan 2019

World

27 Nov 2018

อนุสาวรีย์ที่สูงที่สุดในโลก ภาพหวังความเป็นหนึ่งเดียวของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ‘The Statue of Unity’ อนุสาวรีย์ที่สูงที่สุดในโลกอันใหม่ พร้อมอ่านนัยยะทางการเมืองทั้งภายในและระหว่างประเทศของอินเดียที่มาพร้อมกับอนุสาวรีย์

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

27 Nov 2018

World

29 Oct 2018

เมื่อภูฏานหันซ้าย ในการเลือกตั้งครั้งที่ 3

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงการเลือกตั้งครั้งล่าสุดของภูฏาน ซึ่งจบลงด้วยการขึ้นสู่อำนาจของพรรคฝ่ายซ้ายสังคมนิยมประชาธิปไตย พร้อมวิเคราะห์ความท้าทายทางการเมืองทั้งภายในและภายนอกที่รัฐบาลใหม่ต้องเผชิญ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

29 Oct 2018

World

15 Aug 2018

โมดี และอนาคตของกระแสนิยมขวาจัดในอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสำเร็จของ ‘นเรนทรา โมดี’ และพรรคบีเจพีของอินเดีย พรรคชาตินิยมขวาจัดซึ่งชนะเลือกตั้งแบบพลิกโผในปี 2014 พร้อมประเมินผลงานที่ผ่านมา ซึ่งอาจมีผลต่อการเลือกตั้งครั้งใหม่ในปี 2019

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

15 Aug 2018

โลก-อุษาคเนย์

24 Jul 2018

อินเดียนอก / ก่อนอินเดีย

ยุกติ มุกดาวิจิตร พาไปเยือน ‘โมเฮนโจ-ดาโร’ ใจกลางของ ‘อารยธรรมสินธุ’ ที่สาบสูญ พร้อมสำรวจแง่มุมทางประวัติศาสตร์ในดินแดนเอเชียใต้ ซึ่งหยั่งรากมาจากอารยธรรมเก่าแก่แห่งนี้

ยุกติ มุกดาวิจิตร

24 Jul 2018
1 4 5

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save