มานุษยวิทยาผัสสะ
ยุกติ มุกดาวิจิตร เขียนถึง “มานุษยวิทยาผัสสะ” หรือการศึกษามนุษย์ผ่านผัสสะต่างๆ เช่น การมอง การฟัง การสัมผัส การดม และการรับรส

ยุกติ มุกดาวิจิตร เขียนถึง “มานุษยวิทยาผัสสะ” หรือการศึกษามนุษย์ผ่านผัสสะต่างๆ เช่น การมอง การฟัง การสัมผัส การดม และการรับรส
ยุกติ มุกดาวิจิตร พาไปซอกแซกในเบอร์ลิน สำรวจจริตของเมืองผ่านสายตานักมานุษยวิทยา กิน-ดื่ม-สนทนา ในเมืองหดหู่ที่น่ารื่นรมย์
ยุกติ มุกดาวิจิตร นำเสนอเรื่องเล่า 4 เรื่อง จาก 3 ประเทศ ว่าด้วยประเด็นความหลากหลายของการเข้าสู่สาธารณะและจุดยืนของงานวิชาการ ในงาน 72 ปี ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
ยุกติ มุกดาวิจิตร เขียนถึงหนังสือ ‘ว่างแผ่นดิน’ ของนิธิ เอียวศรีวงศ์ ที่เชื่อมโยงประวัติศาสตร์ช่วง ‘กรุงแตก’ ของสามราชอาณาจักร คืออยุธยา อังวะ และด่ายเหวียด ไว้อย่างเป็นระบบ
ยุกติ มุกดาวิจิตร เขียนถึงประสบการณ์จากการไปชม ‘พิพิธภัณฑ์’ ต่างๆ ทั่วโลก พร้อมชำแหละแก่นและวิธีการนำเสนออันหลากหลาย ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า พิพิธภัณฑ์มิได้เป็นเพียงที่เก็บของเก่า และไม่ได้ ‘น่าเบื่อ’ หรือ ‘แห้งแล้ง’ อย่างที่คนไทยเราคุ้นชินกัน
ยุกติ มุกดาวิจิตร วิเคราะห์ผลงานศิลปินอีสานที่จัดวางตัวเองในฐานะผู้อยู่ใต้อาณานิคมที่ลุกขึ้นมาปะทะกับเจ้าอาณานิคมสยาม ซึ่งคลี่คลายด้วยการทำให้ ‘บางกอกกลายเป็นบ้านนอก’ เสียเอง
ยุกติ มุกดาวิจิตร เขียนถึงร่องรอยของพุทธศาสนาที่ปรากฏอยู่ในสังคมมุสลิมอย่างปากีสถาน ตามแกะรอยจากหนังสือเล่มสำคัญอย่าง ‘มิลินทปัญหา’ ไปจนถึงศาสนสถานเลื่องชื่ออย่าง ‘ตักสิลา’
ยุกติ มุกดาวิจิตร เขียนถึงความเป็นพหุสังคมในปากีสถาน ดินแดนที่แม้จะประกาศตนว่าเป็นประเทศมุสลิม แต่กลับเปิดกว้างและผสานความหลากหลายทางชาติพันธุ์และศาสนาไว้ได้อย่างน่าสนใจ
ยุกติ มุกดาวิจิตร พาไปเยือน ‘โมเฮนโจ-ดาโร’ ใจกลางของ ‘อารยธรรมสินธุ’ ที่สาบสูญ พร้อมสำรวจแง่มุมทางประวัติศาสตร์ในดินแดนเอเชียใต้ ซึ่งหยั่งรากมาจากอารยธรรมเก่าแก่แห่งนี้
ยุกติ มุกดาวิจิตร ตั้งคำถามกับความเป็นตะวันตก-ความเป็นตะวันออก ผ่านการเดินทางเยือนปากีสถาน สำรวจวัฒนธรรมลุ่มน้ำสินธุ และการพินิจพุทธศิลป์คันธาระ
ยุกติ มุกดาวิจิตร เขียนถึงพิธีกรรมของชาวลาวโซ่งที่อาศัยอยู่ในไทย โดยชี้ให้เห็นว่าจิตวิญญาณของวัฒนธรรมอุษาคเนย์ส่วนหนึ่งนั้นคือการพลัดถิ่นฐานที่มีมายาวนานนับร้อยปี
ยุกติ มุกดาวิจิตร ชวนผู้อ่านสำรวจถิ่นคนไตในเวียดนาม เพื่อพิสูจน์ว่า ชุมชนจินตกรรมแรกเริ่ม ในอุษาคเนย์ เกิดก่อนรัฐประชาชาตินับร้อยปีเลยทีเดียว!
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า