fbpx

Asia

26 Mar 2024

เลือกตั้งอินเดีย 101: ศึกแห่งอำนาจของประเทศประชาธิปไตยใหญ่ที่สุดในโลก

ก่อนประชาชนชาวอินเดียเกือบ 1,000 ล้านคนจะเข้าคูหาเลือกตั้งในเดือนเมษายนที่จะถึงนี้ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองและระบบการเลือกตั้งของอินเดียที่แตกต่างจากการเลือกตั้งใดในโลกนี้ที่เราคุ้นเคย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Mar 2024

Political Economy

25 Mar 2024

ข้อโต้แย้งไทย-อินเดีย: เกิดอะไรขึ้นกันแน่ในงาน WTO ที่อาบูดาบี

พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์ เขียนถึงดราม่าในที่ประชุม WTO ที่ไม่เพียงแค่สะท้อนภาพใหญ่การค้าข้าวโลก แต่ยังตั้งคำถามต่อจุดยืนของรัฐบาลไทย

Peter Ungphakorn

25 Mar 2024

World

7 Feb 2024

Asia-Arctic Five: รัฐเอเชียกับการสร้างตำแหน่งแห่งที่ในภูมิรัฐศาสตร์ขั้วโลกเหนือ

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล ชวนสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างรัฐเอเชีย 5 ประเทศ กับการเข้าไปมีบทบาทร่วมกับสภาอาร์กติก และมหาอำนาจฝั่งขั้วโลกเหนือ

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

7 Feb 2024

World

2 Feb 2024

โมดี 2.0: การเมือง เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนย้อนมองผลงานรัฐบาลพรรคบีเจพีที่นำโดย ‘นเรนทรา โมดี’ ในสมัยที่ 2 ว่าสร้างความเปลี่ยนแปลงให้อินเดียมากน้อยเพียงใด และประเด็นใดเป็นที่น่าจับตามองในการเลือกตั้งทั่วไปที่กำลังจะมาถึง

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

2 Feb 2024

Asia

28 Jan 2024

1 ทศวรรษ อินเดียภายใต้การบริหารโดยรัฐบาล Modi

ปิติ ศรีแสงนาม เล่าถึงความสำเร็จ 5 ข้อของนายกฯ อินเดีย นเรนทรา โมดี ในการพลิกโฉมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอินเดียตลอด 10 ปีที่ผ่านมา

ปิติ ศรีแสงนาม

28 Jan 2024

World

26 Dec 2023

Nirmala Sitharaman ขุนคลังหญิงผู้กุมชะตาเศรษฐกิจอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ‘เนียร์มาลา สิฐรามัน’ (Nirmala Sitharaman) รัฐมนตรีกระทรวงการคลังหญิงคนแรกภายใต้การนำของพรรคบีเจพี ผู้มีบทบาทในการกำกับชะตาเศรษฐกิจอินเดียนับตั้งแต่ปี 2019 เนียร์มาลาสามารถเติบโตจนได้คุมกระทรวงใหญ่ในสังคมที่กีดกันผู้หญิงออกจากการเมืองได้อย่างไร?

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

26 Dec 2023

Life & Culture

11 Dec 2023

โศกนาฏกรรมและวีรบุรุษ The Railway Men : The Untold story of Bhopal 1984

‘นรา’ เขียนถึง The Railway Men : The Untold story of Bhopal 1984 มินิซีรีส์เกี่ยวกับเหตุระเบิดในโรงงานผลิตยาฆ่าแมลง คร่าชีวิตนับพันในเมืองโภปาล อินเดีย

นรา

11 Dec 2023

World

3 Nov 2023

หรืออินเดียกำลังจะสูญเสียพันธมิตรในเอเชียใต้อีกครั้ง?: ในวันที่การเมืองมัลดีฟส์ผลัดใบ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงความสัมพันธ์ระหว่างอินเดียและมัลดีฟส์ที่กำลังแปรเปลี่ยนไป ทั้งจากการเมืองภายในและการแผ่อิทธิพลทางเศรษฐกิจของจีน สถานะนำของอินเดียในภูมิภาคเอเชียใต้จึงกำลังถูกสั่นคลอน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

3 Nov 2023

Presscast

1 Nov 2023

PRESSCAST EP.40 : เล่าเรื่องอินเดียเพราะ ‘ชาติที่แล้วคงเกิดเป็นแขก’

คนอินเดียเสพสื่อแบบไหน คนไทยมีภาพจำคนอินเดียผ่านสื่ออย่างไร รับฟังผ่านประสบการณ์ของ ชาติที่แล้วคงเกิดเป็นแขก ได้ใน PRESSCAST EP.40

สุดารัตน์ พรมสีใหม่

1 Nov 2023

Thai Politics

22 Sep 2023

101 In Focus Ep.196: อินเดีย-ภารัต ชาตินิยมฮินดู และเส้นทางสู่มหาอำนาจ

101 In Focus เล่าเรื่องประเทศอินเดียที่กำลังก้าวสู่การเป็นมหาอำนาจโลก และคุยถึงประเด็นการเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น ‘ภารัต’

กองบรรณาธิการ

22 Sep 2023

World

21 Sep 2023

‘ภารัต’ กับการประชุม G20: ก้าวย่างสู่การเป็นมหาอำนาจใหม่ของโลก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงการประชุม G20 ประจำปี 2023 ที่อินเดียเป็นเจ้าภาพ ท่ามกลางการจัดประชุมที่เต็มไปด้วยแรงกดดันและความท้าทายมากมาย อะไรคือความสำคัญของการประชุมรอบนี้ อินเดียประสบความสำเร็จมากน้อยแค่ไหน และอินเดียได้อะไรจากการเป็นเจ้าภาพครั้งนี้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

21 Sep 2023

Social Issues

19 Sep 2023

จากเจ้าขุนทองถึงเอลโม่: โซนาลี ข่าน กับการสอนเด็กให้เข้าใจความหลากหลายด้วย ‘เซซามี สตรีท อินเดีย’

101 สนทนากับโซนาลี ข่าน (Sonali Khan) ผู้อำนวยการ Sesame Workshop-India ภูมิทัศน์สื่อเด็กในปัจจุบันเป็นอย่างไร การสร้างสรรค์รายการเด็กในประเทศสังคมพหุวัฒนธรรมอย่างอินเดียมีความท้าทายอย่างไร และผู้ใหญ่สามารถมีส่วนร่วมในการสร้างพื้นที่แห่งการเรียนรู้ให้กับเด็กเหล่านี้ได้อย่างไรบ้าง

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

19 Sep 2023

World

18 Sep 2023

ลบแผลอาณานิคมด้วยชาตินิยม: อินเดียและภารัตในทัศนะของ สุรัตน์ โหราชัยกุล

หลากหลายความเห็นน่าสนใจเมื่อผู้คนเห็นว่าอินเดียใช้ชื่อ ‘ภารัต’ ในการออกบัตรเชิญผู้นำกลุ่ม G20

ภารัตมีความหมายอะไร แฝงนัยยะของชาตินิยมฮินดูไหม หรือถึงที่สุด นี่อาจเป็นคำประกาศกึกก้องที่บอกโลกในการจะลบแผลอาณานิคมที่ตะวันตกทิ้งไว้

101 สนทนากับ ผศ.สุรัตน์ โหราชัยกุล ว่าด้วยประเด็นชาตินิยม, อาณานิคม และก้าวใหญ่ยักษ์ลำดับถัดไปของอินเดียในเวทีโลก

พิมพ์ชนก พุกสุข

18 Sep 2023

Asia

15 Aug 2023

‘Make in India’ ภาพฝันของนักลงทุนต่างประเทศ กับความเป็นจริงที่นักลงทุนไทยต้องรู้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก พาไปทบทวนผลลัพธ์และความท้าทายตลอด 10 ปีตั้งแต่อินเดียมีนโยบายเศรษฐกิจ ‘Make in India’ ที่ยังมีหลายอุปสรรคให้ฝ่าฟัน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

15 Aug 2023

World

10 Aug 2023

อินเดียในวิกฤตพม่า, เพื่อผลประโยชน์แห่งชาติต้องมาก่อน

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงความสัมพันธ์ระหว่างพม่าและอินเดีย ซึ่งผลประโยชน์ทางการค้าและความมั่นคงส่งผลสำคัญต่อท่าทีของอินเดียต่อวิกฤตในพม่า

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

10 Aug 2023
1 2 5

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save