fbpx

World

5 Jul 2023

ปากเสียงของแรงงานการศึกษาทั้งฝ่ายซ้ายและขวา: ทวิลักษณ์ของสหภาพแรงงานการศึกษาในเยอรมนี

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงพัฒนาการของสหภาพแรงงานการศึกษาในเยอรมนี จากการรวมชาติถึงสิ้นสุดสงครามเย็น การดำรงอยู่ของสหภาพฯ ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ทางการเมืองที่พลิกผันตีลังกาเป็นรถไฟเหาะไปด้วย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

5 Jul 2023

Life & Culture

28 Jun 2023

‘แผลเก่า’ แห่งทุ่งบางกะปิ ร่องรอยการชนกันของชนชั้น เมือง และชนบทหลังปฏิวัติ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงปฐมวรรณกรรมแนวสามัญชน ‘แผลเก่า’ ของ ‘ไม้ เมืองเดิม’ ที่ดำเนินเรื่องบนความขัดแย้งของเมืองและชนบท สอดแทรกสารทางการเมืองยุคหลังอภิวัฒน์สยาม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

28 Jun 2023

Life & Culture

24 May 2023

“ตัวกู-ของกู” คำสอนพุทธทาสสไตล์ไลฟ์โค้ชอันมีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘ตัวกู-ของกู’ หนังสือที่รวบรวมคำสอนของพุทธทาสภิกขุช่วงทศวรรษ 2500 ประดุจคู่มือ ‘ไลฟ์โค้ช’ ให้ชาวพุทธหันมาทำความเข้าใจพุทธศาสนาและเส้นทางการบรรลุธรรมที่แสนจะมีคุณค่าต่อชีวิตและสังคม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

24 May 2023

Social Issues

1 May 2023

ในโลกทุนนิยม ครูไม่ใช่ข้าราชการ แต่เป็นแรงงาน: การเติบโตและเสื่อมถอยของสหภาพแรงงานการศึกษาในอังกฤษ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงพัฒนาการของสหภาพแรงงานการศึกษาในสหราชอาณาจักร ในวันที่คนหลงลืมว่าครูก็เป็นแรงงาน สหภาพฯ เป็นกลไกสำคัญที่บุคลากรทางการศึกษาใช้ต่อรองกับรัฐ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

1 May 2023

Life & Culture

19 Apr 2023

‘ล่า’ ความชอบธรรมของการฆ่า ก่อน 6 ตุลาฯ  เสรีภาพอันวุ่นวาย โรคจิตเวช และผีหญิงผู้คั่งแค้น

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘ล่า’ นิยายของทมยันตีที่ว่าด้วยเรื่องราวของความพยาบาทและการแก้แค้นอันเป็นภาพสะท้อนสังคมยุค 6 ตุลาฯ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

19 Apr 2023

Life & Culture

28 Mar 2023

“แม่ฮะ…พุติดยา” ละครชีวิตซ้อนชีวิตของน้ำพุ และสุวรรณี สุคนธา

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘น้ำพุ’ ภาพยนตร์สะท้อนปัญหายาเสพติด สร้างขึ้นจากเรื่องจริงของ ‘น้ำพุ’ ถูกบอกเล่าผ่านปลายปากกาของสุวรรณี สุคนธา ผู้เป็นแม่ ที่มีฉากชีวิตดุจเรื่องสั้นที่เธอเขียน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

28 Mar 2023

Life & Culture

21 Feb 2023

กามนิต-วาสิฏฐี: อ่านตะวันตก ตื่นตะวันออก ในภาษาไทยก่อนเกิดปฏิวัติ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘กามนิต’ วรรณกรรมของคาร์ล แกร์เลอรุพ ที่ถูกถ่ายทอดเป็นภาษาไทยจนกลายเป็นหนังสือเล่มสำคัญ โดยมีการปรับสำนวนแปลซึ่งเชื่อมโยงกับยุคสมัยก่อนการปฏิวัติ 2475 ไม่นาน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

21 Feb 2023

Life & Culture

24 Jan 2023

ตำนานมูลศาสนาหลากเวอร์ชัน: ราโชมอนแห่งล้านนาและเครื่องด่าวาจา(สวน)ดอกไม้

อ่านเรื่องราว ‘ราโชมอนล้านนา’ ว่าด้วยเรื่องต่างเวอร์ชันของ ‘ตำนานมูลศาสนา’ ระหว่างฉบับของ ‘ค่ายสวนดอก’ และ ‘ค่ายป่าแดง’ หนึ่งในเครื่องมือของเกมอำนาจในราชสำนักเชียงใหม่

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

24 Jan 2023

Social Issues

8 Jan 2023

แรงงาน ยศช้าง และขุนนางวิชาการ: กระบวนการทำให้เป็นราชการในบรรษัทมหา’ลัย

สืบเนื่องจากบทความเรื่องการขอตำแหน่งวิชาการของสมชาย ปรีชาศิลปกุล แล้ว ภิญญพันธุ์เขียนบทความสืบเนื่องกัน ว่าด้วยระเบียบวิธีการในมหาวิทยาลัยทั้งประเด็นเรื่องรูปแบบองค์กร การจ้างงาน ไปจนถึงวิธีคิดเรื่องตรวจงานวิชาการ ที่สะท้อนความเทอะทะของระบบราชการได้เป็นอย่างดี

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

8 Jan 2023

Life & Culture

25 Dec 2022

จริงหรือไม่ที่อาหารเหนือไม่ ‘แมส’: อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของกระแสวัฒนธรรมล้านนา

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ ส่งท้ายปี 2022 ว่าด้วยเรื่องความแมสของอาหารเหนือ ที่พาเราไปตั้งคำถามที่ใหญ่กว่านั้นว่า ความเป็นล้านนาคืออะไร?

พริษฐ์ ชิวารักษ์

25 Dec 2022

Life & Culture

21 Dec 2022

พระเจ้ากรุงสยาม The King and I: โครงการอารยธรรมของ ส.ธรรมยศ ในห้วงคำนึงถึงอัจฉริยบุคคล

ภิญญพันธุ์ชวนอ่านมุมมองต่อรัชกาลที่ 4 และสังคมไทย ผ่านสายตาของ ส.ธรรมยศ ใน ‘พระเจ้ากรุงสยาม’

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

21 Dec 2022

Life & Culture

1 Dec 2022

สามก๊กฉบับวณิพก: ฉากจีนในไทย จากปฏิวัติ 2475 ถึงวาระสุดท้ายของยาขอบ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘สามก๊กฉบับวณิพก’ วรรณกรรมอีกเรื่องของยาขอบที่เขียนไม่จบ ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากในหมู่นักอ่าน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

1 Dec 2022

Life & Culture

26 Oct 2022

บ้านผีปอบ: หนังผีลูกผสม ภาพชนบทและเรือนกายสตรีช่วงทศวรรษ 2530

ภิญญพันธุ์เขียนถึง ‘บ้านผีปอบ’ หนังผียอดนิยมช่วงปี 2532-2537 ความบันเทิงนอกเขตเมืองที่สอดคล้องกับความนิยมของหนังกลางแปลง

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

26 Oct 2022

Life & Culture

21 Oct 2022

101 In Focus Ep.151: ทำไมอาหารเหนือไม่ป็อป และล้านนาป็อป ป็อปจริงไหม?

101 ชวนอ่านชวนคุยจากสองบทความว่าด้วยเรื่องอาหารเหนือและวัฒนธรรมล้านนา ว่าทำไมอาหารเหนือไม่ป็อป และล้านนาป็อป ป็อปจริงไหม?

กองบรรณาธิการ

21 Oct 2022

Life & Culture

7 Oct 2022

ล้านนาป็อป แต่ไม่ป็อปอย่างที่คิดกัน: ว่าด้วยอาหาร ดนตรี และพลังทางวัฒนธรรมแบบ ‘เหนือๆ’ ในสังคมไทย

ต่อเนื่องจากบทความของวันชัยที่ตั้งคำถามว่า ‘ทำไมร้านอาหารเหนือจึงไม่ค่อยแพร่หลาย’ ภิญญพันธ์ุชวนคุยต่อว่า อาจไม่ใช่แค่อาหาร ‘เหนือ’ เท่านั้นที่ไม่ค่อยแพร่หลาย แต่เป็นวัฒนธรรมร่วมสมัยของ ‘ภาคเหนือ’ ด้วย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

7 Oct 2022
1 2 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save