fbpx

Life & Culture

22 Aug 2022

ไทยซบพม่า : แหวกหัวใจคู่พระนางสังเวยชาตินิยม ใน ‘เลือดสุพรรณ’ ละครเพลงยุคปฏิวัติ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘เลือดสุพรรณ’ บทละครเวทีของหลวงวิจิตรวาทการ บทประพันธ์ที่ไม่ได้ทำให้พม่ากับไทยเป็นศัตรูคู่อาฆาตแบบขาว-ดำอย่างที่เราคุ้นชิน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

22 Aug 2022

Life & Culture

25 Jul 2022

‘ปริศนา-บ้านทรายทอง’ มายาภาพความก้าวหน้าของผู้หญิงไทย และการครองอำนาจนำของฝ่ายอนุรักษนิยมยุคหลังสงคราม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘บ้านทรายทอง’ และ ‘ปริศนา’ นิยายที่ออกมาในช่วงใกล้เคียงกันเมื่อปี 2493-2494 ที่นางเอกของทั้งสองเรื่องเป็นภาพตัวแทนความเป็นหญิงที่ก้าวหน้าอย่างยิ่งของยุคสมัย แต่ลึกลงไปใต้ภาพความทันสมัยนี้ ยังมีบริบทแวดล้อมที่วิเคราะห์ได้อีกหลายแง่มุม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

25 Jul 2022

Life & Culture

23 Jun 2022

‘หญิงคนชั่ว’ โสเภณีที่กดทับตัวเองด้วยแอกศีลธรรม – นิยายเปลือยชีวิตชนชั้นล่างใต้เงาปฏิวัติสยาม 2475

ภิญญพันธ์ุ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงนิยาย ‘หญิงคนชั่ว’ ของ ก.สุรางคนางค์ ที่สะท้อนให้เห็นว่าสภาพสังคมช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ยังมีชนชั้นล่างที่ต้องเผชิญกับปัญหาหลายด้าน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

23 Jun 2022

Life & Culture

25 May 2022

สามก๊ก-ราชาธิราชในพระราชพงศาวดาร: พลังวัฒนธรรม ‘เจ๊กปนมอญ’ และการชิงอำนาจในราชสำนักกรุงเทพฯ

ภิญญพันธ์ุ พจนะลาวัณย์ ชวนอ่าน ‘สามก๊ก’ และ ‘ราชาธิราช’ วรรณกรรมแปลที่ส่งผลต่องานเขียนในยุคต้นรัตนโกสินทร์ และการสร้างประวัติศาสตร์เพื่ออำนาจของชนชั้นนำ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

25 May 2022

Life & Culture

19 Apr 2022

เพ็ดดีกรีนั้นหรือก็คือหัวนอนปลายตีนของคน: ‘นิกกับพิม’ นิยายที่แฝงนัยเหยียดเจ๊ก คอมมิวนิสต์ และชนชั้นล่าง

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์เขียนถึงนวนิยาย ‘นิกกับพิม’ ของ ว.ณ ประมวญมารค ที่สะท้อนภาพชนชั้นกลาง-สูงไทยและความชาตินิยมที่ปรากฏผ่านการเสียดสี ‘ฝรั่ง เจ๊ก และคอมมิวนิสต์’

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

19 Apr 2022

Life & Culture

17 Mar 2022

ปาฏิหาริย์แห่งการตื่นอยู่เสมอ: หรือปาฏิหาริย์ของติช นัท ฮันห์จะไม่มีจริง?

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ติช นัท ฮันห์ ผู้นำทางจิตวิญญาณของพุทธศาสนานิกายเซน ที่คำสอนของเขากลายเป็นต้นแบบการใช้ชีวิตของชนชั้นกลางไทย ติช นัท ฮันห์เติบโตมาอย่างไร เผชิญการต่อสู้แบบไหน และเบื้องหลังคำสอนของเขามีที่มาจากอะไร

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

17 Mar 2022

Life & Culture

27 Jan 2022

Read มีดสั้น: บุรุษ อิสตรี ทุนนิยม และปรัชญาปลอบใจวิญญูชนหลังโลกอุดมการณ์ล่มสลาย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ อ่าน ‘ฤทธิ์มีดสั้น’ นิยายจีนกำลังภายใน ผ่านแว่นตาสังคมการเมืองและความเป็นหญิง

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

27 Jan 2022

Life & Culture

17 Nov 2021

ข้างหลังภาพของสี่แผ่นดิน นิยายแห่งยุคสมัย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงวรรณกรรมสองเล่มที่เป็นภาพแทนอุดมการณ์อันแตกต่างคือ ข้างหลังภาพ และ สี่แผ่นดิน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

17 Nov 2021

Life & Culture

18 Oct 2021

‘ความตายของโกโบริ’ กับ ‘ฆาตกรที่ชื่ออังศุมาลิน’ : คู่กรรมบนถนนสังคมการเมืองไทย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ชวนย้อนอ่าน ‘คู่กรรม’  ผ่านตัวบทและบริบทสังคมไทยในแต่ละยุคสมัย เนื้อหาของคู่กรรมทาบทับกับการเมืองไทยอย่างไร

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

18 Oct 2021

Politics

17 Sep 2021

รัฐประหารในโลกเก่า กลไกเข้าสู่อำนาจที่บ่อนทำลายตัวเอง: อ่านประวัติศาสตร์อยุธยาด้วยแว่นเกมออฟโธรนส์

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ พาไปรู้จักรัฐประหารในสมัยอยุธยา ที่มาจากการแย่งชิงอำนาจของชนชั้นนำ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

17 Sep 2021

Podcast

19 Aug 2021

101 In Focus Ep.93 : สามัญชนใน ‘สุริโยไท’ ประวัติศาสตร์ราชาชาตินิยมในยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง

101 In Focus ชวนคุยกันเรื่อง ‘สุริโยไท’ จะเป็นอย่างไรหากมองสุริโยไทจากมุมมองของสามัญชน และช่วงที่กำเนิดภาพยนตร์เรื่องนี้สภาพสังคมและการเมืองตอนนั้นเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

19 Aug 2021

Life & Culture

11 Aug 2021

สามัญชนในสุริโยไท ฝุ่นละอองกลางไฟรัฐประหารและเพลิงสงคราม : ระหว่างบรรทัดหนังมหากาพย์ครบรอบ 2 ทศวรรษ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ตั้งข้อสังเกตและแสวงหาพื้นที่ของสามัญชนในภาพยนตร์วีรสตรี ‘สุริโยไท’ ในวาระครบรอบฉาย 2 ทศวรรษ

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

11 Aug 2021

Life & Culture

27 Jul 2021

ความสมจริงของ (หนัง) นางนาก และความผิดปกติของสังคมไทยหลังพิษเศรษฐกิจ 2540

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘นางนาก’ (2542) ภาพยนตร์ที่กลายเป็นตัวแทนความภาคภูมิใจของสังคมไทยต่อสายตาโลก หลังความหวังจะเป็นเสือเศรษฐกิจพังทลายในช่วงวิกฤต 2540

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

27 Jul 2021

Life & Culture

16 Jun 2021

ไทรบไท สู่ไทยรบลาว: สงครามชาติพันธุ์เคียงโศกนาฏกรรม ขุนช้าง-ขุนแผน-วันทอง-ลาวทอง

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงความแปรเปลี่ยนในแนวคิดเชื้อชาตินิยม ที่มีการขับเน้น ‘ศัตรู’ ที่แตกต่างกันในพงศาวดารและวรรณกรรม

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

16 Jun 2021
1 2 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save