fbpx

Seacrh result : คอมมิวนิสต์

Filter

Sort

760 results found.

My Voice

18 Mar 2024

ตรวจแนวรบสงครามปราบ ‘ผีก้าวไกล’ ศึกแรกปีกอนุรักษ์ฯ กำชัยค้านสายตา

ประทีป คงสิบ ชวนตรวจสถานการณ์แนวรบเพื่อไทย-ก้าวไกล เปรียบเป็นคู่ชกที่ต่อยไม่ครบยก แล้วกรรมการให้ยุติการแข่งขันอย่างค้านสายตา

ประทีป คงสิบ

18 Mar 2024

Interviews

12 Mar 2024

“เราอาจตายไปโดยไม่รู้ความจริง แต่หวังว่าคนรุ่นต่อไปจะยังตั้งคำถาม” 20 ปีคดีอุ้มหายทนายสมชาย กับ อังคณา นีละไพจิตร

101 ร่วมวงสนทนากับ อังคณา นีละไพจิตร กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รองประธานในคณะอนุกรรมการด้านสิทธิมนุษยชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ นักเคลื่อนไหว และภรรยาของทนายสมชาย นีละไพจิตร ถึงความเป็นไปของคดีความ ช่วงชีวิตใน 20 ปีที่ผ่านมา และทิศทางของกระบวนการยุติธรรมไทย

ณัชชา สินคีรี

12 Mar 2024

Politics

11 Mar 2024

ถ้าไม่แก้ไข ประเทศไทยก็เหมือนเดิม: หาทางออกอย่างเป็นธรรมด้วยนิรโทษกรรมคดีการเมือง

101 สรุปความจากรายการ 101 Policy Forum #20 หาทางออก ‘นิรโทษกรรม’ หาทางออกสังคมไทย พูดคุยว่าด้วยประเด็นการนิรโทษกรรมคดีการเมืองและการหาทางออกจากความขัดแย้งที่ฝังรากในสังคมไทย

ณัชชา สินคีรี

11 Mar 2024

Life & Culture

7 Mar 2024

9 เรื่อง 9 ทศวรรษ สุดา พนมยงค์ : ชีวิตระหว่างบรรทัดของประวัติศาสตร์การเมืองไทย

กษิดิศ อนันทนาธร เล่า 9 เรื่องราวชีวิตของ ‘สุดา พนมยงค์’ บุตรสาวของปรีดี พนมยงค์ ในวาระครบรอบ 90 ปี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา

กษิดิศ อนันทนาธร

7 Mar 2024

Latin America

6 Mar 2024

จากสงครามสู่สันติภาพ: มองประวัติศาสตร์สมัยใหม่ของโคลอมเบีย

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เล่าประวัติศาสตร์สมัยใหม่ของโคลอมเบีย จากประเทศแห่งสงครามและความรุนแรง สู่ประเทศที่น่าจับตา

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

6 Mar 2024

Thai Politics

27 Feb 2024

‘เสรีนิยมธรรมราชา’ ในโครงการจำกัดอำนาจเสียงข้างมากของชนชั้นนำจารีต: ปฤณ เทพนรินทร์

101 สนทนากับปฤณ เทพนรินทร์ ถึงการก่อกำเนิดของเสรีนิยมธรรมราชา ภาวะการเคลื่อนออกจากเสรีนิยมธรรมราชาในปัจจุบัน และการเดินหน้าต่อของโครงการจำกัดอำนาจเสียงข้างมาก

วจนา วรรลยางกูร

27 Feb 2024

Education

26 Feb 2024

“ไม่สู้ก็อยู่ใต้การกดขี่” สหภาพแรงงานครูและขบวนการแรงงานครูในเกาหลีใต้หลังโค่นเผด็จการทหาร

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงสหภาพแรงงานครูในเกาหลีใต้ ประเทศซึ่งมีประวัติศาสตร์การถูกกดขี่จากเจ้าอาณานิคมญี่ปุ่นและอยู่ภายใต้เผด็จการทหารนานเกือบ 2 ทศวรรษ สำรวจการเติบโตของสหภาพฯ ท่ามกลางบรรยากาศที่จำกัดสิทธิและเสียงในการแสดงออก

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

26 Feb 2024

Life & Culture

20 Feb 2024

ไร้ภาพ-หลากเสียง – ไร้เสียง หลากภาพ ว่าด้วยงานของ เหงียน ตรินห์ ตี

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา เล่าถึงงานศิลปะของ เหงียน ตรินห์ ตี ศิลปินและคนทำหนังชาวเวียดนาม ซึ่งงานของเธอถูกจัดแสดงในนิทรรศการไทยแลนด์เบียนนาเล่ เชียงราย 2023 พร้อมกันนี้ เขาก็พาไปสำรวจภูมิทัศน์ทางประวัติศาสตร์และการเมืองในงานเรื่องก่อนๆ หน้าของตี กับการนิยามความหมายของ ‘เสียง’ และ ‘ภาพ’ ในอีกรูปแบบหนึ่ง

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา

20 Feb 2024

World

18 Feb 2024

เลือกตั้งอินโดนีเซีย 2024 : บททดสอบกระบวนการประชาธิปไตย และยุคสมัยใหม่ใต้ร่มเงาแห่งการลอยนวลพ้นผิด

อรอนงค์ ทิพย์พิมล สรุปผลการเลือกตั้งในอินโดนีเซียเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ทั้งการที่ ปราโบโว ซูเบียนโต อดีตนายทหารผู้ถูกล่าวหาว่าเกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน น่าจะได้เป็นประธานาธิบดีคนล่าสุด, การจับมือกันของพรรคข้ามขั้วที่ส่งผลต่อการเลือกตั้งในภาพใหญ่ ตลอดจนวัฒนธรรมการไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้งในฐานะการแสดงออกทางการเมือง และอนาคตหลังจากนี้ของอินโดนีเซีย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

18 Feb 2024

Phenomenon

16 Feb 2024

Perfect Days การพัฒนาตนเอง และเป้าหมายของชีวิต

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนมองชีวิตและ การตั้งคำถามกับ ‘เป้าหมายของชีวิต’ แต่ละคนผ่านภาพยนตร์เรื่อง Perfect Days

โตมร ศุขปรีชา

16 Feb 2024

Books

13 Feb 2024

30 ปี ‘โทษฐานที่รู้จักกัน’ : ความขำขันบนความหงุดหงิดจากหนังสือ สู่ราชันย์เดี่ยวไมโครโฟน

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึง ‘โทษฐานที่รู้จักกัน’ ผลงานเขียนชิ้นแรกของ โน้ต-อุดม แต้พานิช ซึ่งเป็นงานเขียนสไตล์จิกกัดที่สะท้อนยุคสมัยแห่งความน่ารำคาญของชนชั้นกลางไทยในทศวรรษ 2530

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

13 Feb 2024

Thai Politics

12 Feb 2024

คำถามสุดท้ายของคัทลิน: ชีวิตของความชรา บ้าน และความทรงจำ

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึง ‘คำถามสุดท้ายของคัทลิน’ รวมเรื่องสั้นของ สุกัญญา หาญตระกูล นักวิจารณ์วรรณกรรมชื่อดังในช่วงทศวรรษ 2520 โดยเฉพาะงานวรรณกรรมสกุลเพื่อชีวิต โดยงานรวมเรื่องสั้นที่มีอายุร่วมสี่ทศวรรษของสุกัญญาเรื่องนี้ ยังทรงพลังทั้งในแง่การเลือกใช้ถ้อยคำ, โครงสร้างของเรื่อง และประเด็นอันร่วมสมัยซึ่งว่าด้วยการอพยพย้ายถิ่น

อาทิตย์ ศรีจันทร์

12 Feb 2024

Life & Culture

11 Feb 2024

จากหนังนักปฏิวัติมาจนถึงพรรคการเมืองไทย ฌ็อง-ลุก โกดาด์ ในสายตาของ ปิยบุตร แสงกนกกุล

ชวนสำรวจ La Chinoise​ (1967) หนังอันอื้อฉาวที่ดูเหมือนจะแซะคนหนุ่มสาวในยุค 60s ว่าช่าง ‘เบียวคอมมี่’ เหลือเกินของ ฌ็อง-ลุก โกดาด์ ในสายตาของ ปิยบุตร แสงกนกกุล นักวิชาการอิสระ ที่ชวนอ่านบรรยากาศทางการเมืองฝรั่งเศสในทศวรรษ 1960 และบทบาทของพรรคการเมืองไทยในปัจจุบัน

พิมพ์ชนก พุกสุข

11 Feb 2024

Life & Culture

8 Feb 2024

พี่บ่าวตูน, ลอง เรื่องสั้น, น้องฉัตรทอง และ เหตุการณ์ 6 ตุลาฯ

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงเรื่องหลอนที่เล่าโดย ‘พี่บ่าวตูน’ เดอะโกสต์ไอดอลแห่งปากพนัง ซึ่งมีจุดเริ่มต้นจากการปล้นเรือผู้อพยพชาวญวน จากเรื่องผีขยายไปสู่ภาพใหญ่สมัยทศวรรษ 2510 ที่รัฐไทยและสื่อบันเทิงต่างๆ ขับเน้นภาพลักษณ์ของชาวญวนหรือชาวเวียดนามให้เป็นบุคคลอันตราย เพราะมีความเกี่ยวข้องกับลัทธิคอมมิวนิสต์

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

8 Feb 2024
1 2 3 4 51

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save