fbpx

Asean

24 Aug 2017

ครั้งหนึ่งเราเคยพบกัน…ออง ซาน ซู จี “ฉันหรือเธอที่เปลี่ยนไป ?”

วันดี สันติวุฒิเมธี เล่าประสบการณ์ตรงในการสัมภาษณ์ออง ซาน ซู จี เมื่อเดือนธันวาคม 2553 สมัยเป็นบรรณาธิการนิตยสารสาละวินโพสต์ เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนในกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่า “ซู จี เปลี่ยนไป” หลังขึ้นสู่อำนาจ

วันดี สันติวุฒิเมธี

24 Aug 2017

Global Affairs

18 Aug 2017

อ่านห้วงเวลาแบบคิสซินเจอร์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านห้วงเวลาแบบคิสซินเจอร์ (Kissingerian Moment) ห้วงเวลาที่เกิด
The Conservative Dilemma เมื่อสังคมการเมืองเกิดพลังก่อตัวขึ้นมาท้าทายและเรียกร้องการปฏิวัติเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคมจากระบอบเดิม แต่ฝ่ายอนุรักษนิยมแทบไม่มีทางเลือกในการกลับคืนสู่เวลาของเสถียรภาพและความสงบเรียบร้อยเป็นปกติธรรมดา แล้วทางออกอยู่ตรงไหน?

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

18 Aug 2017

Trends

17 Aug 2017

4 อุตสาหกรรมแห่งอนาคต ในทัศนะของ อเล็ก รอสส์ ที่คุณต้องรู้จัก!

อเล็ก รอสส์ จะมาเล่าถึง ‘อุตสาหกรรมแห่งอนาคต’ แบบเจาะลึกครั้งแรกในไทย พร้อมเผยกลเม็ดเคล็ดลับในการปรับตัวให้คนไทยได้ฟัง ในงาน “Shift Happens: พลิกธุรกิจให้ทันวันพรุ่งนี้” วันเสาร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2560 ลงทะเบียนที่นี่ www.shifthappens.in.th

กองบรรณาธิการ

17 Aug 2017

Global Affairs

15 Aug 2017

ภูมิศาสตร์การเมืองโลก (Geopolitics): อีกหนึ่งความเสี่ยงที่ไม่ควรมองข้าม

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม เปิดงานศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ใหม่ๆ ที่ชี้ให้เห็นว่า ตลาดการเงินเริ่มหันเหความสนใจออกจากนโยบายการเงิน มาสู่ปัจจัยด้านการเมือง และการปะทุเพิ่มขึ้นของความเสี่ยงด้านภูมิศาสตร์การเมืองส่งผลกระทบทางลบต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งภาคเศรษฐกิจจริงและผลตอบแทนในตลาดการเงิน

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม

15 Aug 2017

China

11 Aug 2017

จีนกับเศรษฐกิจ QR Code

ในยุคที่คนจีนไม่ต้องพกกระเป๋าสตางค์ ขอแค่มีสมาร์ทโฟนติดตัว ก็ซื้อหาสินค้าและบริการได้สบายๆ ผ่านการสแกน QR Code อาร์ม ตั้งนิรันดร เล่าเรื่อง QR Code และผลต่อการสร้างเศรษฐกิจใหม่ ธุรกิจใหม่ และวัฒนธรรมใหม่ ในประเทศจีน

อาร์ม ตั้งนิรันดร

11 Aug 2017

World

1 Aug 2017

เราพบกันเพราะหนังสือ: รู้จักตัวตนของออง ซาน ซู จีผ่าน “จดหมายจากพม่า”

ลลิตา หาญวงษ์ ชวนอ่านตัวตนและความคิดของ ออง ซาน ซู จี ผ่านหนังสือ “จดหมายจากพม่า” ของเธอ ผลงานที่เปิดเปลือยความคิดจิตใจและสามัญสำนึกของซู จีออกมาอย่างหมดจดในฐานะมนุษย์ปุถุชน มิใช่ในฐานะวีรสตรีของชาวพม่า

ลลิตา หาญวงษ์

1 Aug 2017

Global Affairs

28 Jul 2017

อ่านนอกกล่อง : ทำไม E.H. Carr จึงไม่ใช่นักทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแนวสภาพจริงนิยม(แบบที่เรามักเข้าใจ)?

จิตติภัทร พูนขำ ชวนอ่าน E.H. Carr ผู้ถูกขนานนามว่าเป็นเจ้าพ่อ “สภาพจริงนิยม” ในวงวิชาการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และผลงานคลาสสิก The Twenty Years’ Crisis, 1919-1939 ด้วยมุมมองใหม่แบบทฤษฎีวิพากษ์ แล้วคุณจะพบว่าเขาเป็นทั้ง realist, critical theorist และ historian แบบมิอาจปักป้ายจัดประเภทลงกล่องแบบสำเร็จรูปได้

จิตติภัทร พูนขำ

28 Jul 2017

Trends

21 Jul 2017

“ลิง” พันธ์ุเดียวผู้ครองโลก

ทำไม Homo sapiens จึงเป็น Homo สปีชีส์เดียวที่เหลืออยู่ วรากรณ์ สามโกเศศ บอกเล่าเส้นทางอันน่าทึ่งของบรรพบุรุษมนุษย์ และบทเรียนสำหรับอนาคต

วรากรณ์ สามโกเศศ

21 Jul 2017

Trends

11 Jul 2017

จาก Estonia สู่ e-Stonia : ถอดบทเรียน 25 ปี การรีบูทเอสโตเนีย กับ Viljar Lubi

Viljar Lubi รัฐมนตรีเศรษฐกิจดิจิทัลของเอสโตเนีย สนทนากับ วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง ถอดบทเรียน 25 ปี การรีบูทประเทศใหม่ จนเป็นซิลิคอนวัลเลย์แห่งยุโรป

วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง

11 Jul 2017

Global Affairs

9 Jul 2017

สำรวจระเบียบเศรษฐกิจใหม่ในโลกที่ไม่คล้ายเดิม กับ Michael Heise

101 สัมภาษณ์พิเศษ Dr.Michael Heise หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ของ Allianz SE สถาบันการเงินสัญชาติเยอรมนีที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในโลก เกี่ยวกับระเบียบเศรษฐกิจโลกใหม่ ก้าวต่อไปของ Brexit สหรัฐอเมริกาในอุ้งมือโดนัลด์ ทรัมป์ และเศรษฐกิจไทยในยุคเปลี่ยนผ่าน

ปกป้อง จันวิทย์

9 Jul 2017

US

7 Jul 2017

ทำไมสหรัฐฯ จึงไม่มีรถไฟความเร็วสูง

คุ้มหรือไม่คุ้ม-ไม่รู้ แต่ประเทศไทยกำลังจะมีรถไฟความเร็วสูง เช่นเดียวกับประเทศร่ำรวยเกือบทุกประเทศในโลก แต่เคยสงสัยไหมว่า ทำไมประเทศสุดรวยอย่างสหรัฐอเมริกากลับไม่มีรถไฟความเร็วสูงเลยแม้แต่สายเดียว? อาร์ม ตั้งนิรันดร มีคำตอบ

อาร์ม ตั้งนิรันดร

7 Jul 2017

Asia

30 Jun 2017

One Belt One Road อินเดียคิดยังไงกับอิทธิพลจีนในเอเชียใต้

ยุทธศาสตร์ ‘One Belt One Road’ หรือเส้นทางสายไหมในศตวรรษที่ 21 ของจีน มีภูมิภาคเอเชียใต้เป็นหนึ่งในหมุดหมายสำคัญ ทว่าด่านหินที่จีนต้องผ่านไปให้ได้นั้น ก็คืออินเดียซึ่งเป็น ‘พี่เบิ้ม’ แห่งภมูิภาค การเดินหมากของทั้งสองประเทศเป็นอย่างไร และมีวาระอะไรที่ซ๋อนเร้นอยู่บ้าง
บทความนี้มีคำตอบ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

30 Jun 2017

World

30 Jun 2017

สหราชอาณาจักรในกระบวนการ Brexit: จากวิกฤตความชอบธรรมสู่วิกฤตอัตลักษณ์แห่งชาติ?

จิตติภัทร พูนขำ สำรวจสถานการณ์ 1 ปี หลังจากสหราชอาณาจักรลงมติแยกตัวออกจากสหภาพยุโรป 1 ปีผ่านไป สหราชอาณาจักรเผชิญทั้ง ‘วิกฤตความชอบธรรมของรัฐบาล’ และ ‘วิกฤตอัตลักษณ์แห่งชาติ’ อย่างหนักหน่วง กระบวนการ Brexit อีกสองปีจากนี้จะเดินหน้าอย่างไรท่ามกลางวิกฤตคู่

จิตติภัทร พูนขำ

30 Jun 2017
1 86 87 88 90

MOST READ

Interviews

5 May 2024

สวนกล้วยของคนจีน-ชีวิตอาบสารเคมีของคนลาว: เสถียร ฉันทะ

101 คุยกับ ผศ.ดร.เสถียร ฉันทะ ผู้ทำวิจัยเรื่องสวนกล้วยจีนในลาวและพม่า ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นและการคืบคลานของสวนกล้วยจีนที่ขยายไปในลุ่มน้ำโขง อย่างพม่าและกัมพูชา

วจนา วรรลยางกูร

5 May 2024

Asean

1 May 2024

‘ลี เซียนลุง’ สู่ ‘ลอว์เรนซ์ หว่อง’ : การสืบทอดอำนาจสู่ผู้นำรุ่น 4 ในยุคที่การรักษาอำนาจการเมืองสิงคโปร์ไม่ง่ายเหมือนเคย

101 วิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านอำนาจของสิงคโปร์สู่ผู้นำรุ่นที่ 4 ‘ลอว์เรนซ์ หว่อง’ ในวันที่พรรค PAP ที่ผูกขาดอำนาจมานาน อาจรักษาอำนาจยากขึ้น

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 May 2024

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save