fbpx

Global Affairs

24 May 2017

พลเรือนควบคุมทหาร : หนทางสู่ประชาธิปไตยที่มีเสถียรภาพ

พลอย ธรรมาภิรานนท์ สำรวจข้อถกเถียงเรื่องการปฏิรูปกองทัพ ทำอย่างไรให้กองทัพอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลพลเรือนเพื่อสร้างประชาธิปไตยที่มีเสถียรภาพ

พลอย ธรรมาภิรานนท์

24 May 2017

US

19 May 2017

โต๊ะทรัมป์: ธรรมดาเสียที่ไหน

ขึ้นชื่อว่าโต๊ะทำงาน ไม่ว่าจะเป็นโต๊ะในออฟฟิศทั่วไปหรือโต๊ะในทำเนียบขาว ก็สามารถบอกอะไรได้หลายอย่างเกี่ยวกับเจ้าของของมัน เราจะพาไปสำรวจโต๊ะทำงานของ โดนัลด์ ทรัมป์ ว่าจะสะท้อนตัวตนของเขาอย่างไรบ้าง
ไปดูกัน

วชิรวิทย์ คงคาลัย

19 May 2017

Trends

19 May 2017

คอมพิวเตอร์ไม่มีวันปลอดภัย

มารู้จัก WannaCry มัลแวร์เรียกค่าไถ่ ซึ่งกำลังระบาดหนักทั่วโลกให้มากขึ้น เพราะผลที่เกิดขึ้นอาจหมายถึงความตายของผู้คน วรากรณ์ สามโกเศศ เล่าสาเหตุหลักว่าทำไมคอมพิวเตอร์ถึงไม่มีวันปลอดภัย และผู้บริโภคอย่างเราต้องต่อสู้ภายใต้ความเสี่ยงนี้อย่างไร

วรากรณ์ สามโกเศศ

19 May 2017

World

16 May 2017

พม่าหลังการเลือกตั้ง : 1 ปีผ่านไปไวเหมือนโกหก

ลลิตา หาญวงษ์ ประเมินสถานการณ์การเมืองพม่าหนึ่งปีกว่าให้หลังการเลือกตั้งแห่งความหวัง

สองปัญหาใหญ่ – เรื่องการเจรจาสันติภาพกับชนกลุ่มน้อย และ เรื่องโรฮิงยา – สั่นคลอนรัฐบาลพลเรือนพม่าอย่างไร

เมื่อ ออง ซาน ซู จี ก้าวขึ้นสู่อำนาจเต็มตัว เธอทำให้กองเชียร์ผิดหวังหรือสมหวังอย่างไร

ใครอยากรู้เบื้องลึกเบื้องหลังการเมืองพม่ายุคหลังเลือกตั้ง ห้ามพลาด!

ลลิตา หาญวงษ์

16 May 2017

Global Affairs

15 May 2017

ถ้าสองเกาหลีรวมร่าง!

เคยสงสัยกันไหมครับ ว่าถ้าเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้จะกลับมารวมกันเป็นหนึ่งอีกครั้งนี่ จะเป็นไปได้ไหม และถ้าจะรวมกันจริงๆแล้ว มีกระบวนการอย่างไร หรือมีปัญหาอะไรบ้าง

วชิรวิทย์ คงคาลัย

15 May 2017

Global Affairs

12 May 2017

วิธีอ่านสถานการณ์ 101

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดเคล็ดวิชา “การอ่านสถานการณ์ 101” สำหรับอ่านสถานการณ์การเมืองโลก ตั้งแต่ “อ่านการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์” จนถึง “อ่านลงไปในตัวสถานการณ์”

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

12 May 2017

China

5 May 2017

ยุทธศาสตร์ Jing-Jin-Ji: ภาพอนาคตประเทศจีน

รัฐบาลจีนกำลังคิดการใหญ่กับ “ยุทธศาสตร์ Jing-Jin-Ji” ซึ่งเป็นแนวคิดเชื่อมโยงมหานครปักกิ่ง และมหานครเทียนจิน เข้ากับเมืองใหญ่ 11 เมืองของมณฑลเหอเป่ย โดยรัฐบาลจีนจะลงทุนสร้างรถไฟความเร็วสูง เพื่อให้การเดินทางจากเมืองใหญ่แต่ละแห่งในมณฑลเหอเป่ย เข้าสู่ปักกิ่งหรือเทียนจินใช้เวลาไม่เกิน 1 ชั่วโมง

หากแผนการสำเร็จ จะทำให้เกิด “อภิมหานคร” ที่กินพื้นที่และประชากรมากที่สุดในประวัติศาสตร์โลก ด้วยพื้นที่เขตเมืองทั้งสิ้นรวม 212,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 40% ของพื้นที่ประเทศไทย โดยมีประชากรอาศัยในเขตเมืองที่เชื่อมต่อถึงกันรวม 130 ล้านคน ซึ่งมากกว่าจำนวนประชากรของประเทศไทยหนึ่งเท่าตัว

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนเล่าเบื้องหลังความคิดของยุทธศาสตร์แห่งอนาคตของรัฐบาลจีน ที่จะทำให้สำนวนเก่าในนิยายรักของจีนที่ว่า “ห่างกันหมื่นลี้ แต่เหมือนอยู่ใกล้ชิดกัน” เป็นความจริง

อาร์ม ตั้งนิรันดร

5 May 2017

Global Affairs

28 Apr 2017

ความสัมพันธ์สหรัฐฯ และรัสเซีย: ข้าม(ไม่)พ้น ความตึงเครียดร้าวลึก?

“รัสเซีย” เป็นหนึ่งในประเด็นด้านการเมืองและนโยบายต่างประเทศที่ร้อนแรงที่สุดในยุคโดนัลด์ ทรัมป์

ตั้งแต่การแฮกอีเมลพรรคเดโมแครต ข้อครหาเรื่องการแทรกแซงการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ จนทำให้ทรัมป์ได้รับชัยชนะ วาทศิลป์ช่วงหาเสียงของทรัมป์ที่ดูเหมือนจะ “นิยมปูติน” เกินงาม จนถึงการโจมตีทางอากาศของสหรัฐฯ ต่อซีเรีย พันธมิตรสำคัญของรัสเซีย

อนาคตความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย จะเดินต่อไปบนเส้นทางใด ผู้นำอย่างทรัมป์และปูตินจะจับมือก้าวข้ามความตึงเครียดร้าวลึกที่คุกรุ่นตั้งแต่หลังสงครามเย็นได้หรือไม่

จิตติภัทร พูนขำ เล่าเบื้องลึกเบื้องหลังและที่มาที่ไปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย ใครอยากเข้าใจปมความขัดแย้งระหว่างสองประเทศ พลาดไม่ได้!

จิตติภัทร พูนขำ

28 Apr 2017

Global Affairs

25 Apr 2017

ต้าน “ผู้นำอย่างทรัมป์” ด้วยนวัตกรรมประชาธิปไตย

จันจิรา สมบัติพูนศิริ สำรวจ “จุดอ่อน” ขบวนการต้านทรัมป์และผองเพื่อนผู้นำการเมืองขวาประชานิยม

ทำไมพวกลิเบอรัลอาจเคลื่อนไหวต่อต้านคนอย่างทรัมป์ไม่สำเร็จ แถมกลับยิ่งทำให้พวกเขาเข้มแข็งขึ้นไปอีก … แล้วเราจะสู้กับผู้นำขวาประชานิยมอย่างทรัมป์อย่างไรดี?

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

25 Apr 2017

Trends

21 Apr 2017

“ซินแสโชกุน” ต้มตุ๋นสไตล์สากล

“ซินแสโชกุน” พุ่งติดชาร์ตขึ้นทำเนียบคนลวงโลกคนล่าสุดของสังคมไทย

วิถีลวงโลกของซินแสโชกุน แท้จริงแล้วมิได้มีอะไรใหม่ รูปแบบต้มตุ๋นก็เป็นไปตามที่สากลเขาเคยทำกัน จนมีชื่อเรียกว่า Ponzi Scheme และถือว่าเลวเท่าเทียมกันเพราะทำให้คนอื่นเจ็บปวดจากความสูญเสีย

“ซินแสโชกุน” มิใช่คนแรกก็จริง แต่ก็มิใช่คนสุดท้ายอย่างแน่นอน ตราบที่โลกยังเต็มไปด้วยคนโลภแบบไม่แคร์เหตุแคร์ผล

วรากรณ์ สามโกเศศ จะพาคุณย้อนประวัติศาสตร์ เล่าที่มาที่ไปของวิถีต้มตุ๋นที่ตั้งชื่อตามสุดยอดคนลวงโลก Charles Ponzi ชาวอิตาลี ผู้ข้ามน้ำข้ามทะเลมาหากินในอเมริกาด้วยเงินในกระเป๋าไม่ถึง 3 เหรียญ!

วรากรณ์ สามโกเศศ

21 Apr 2017

Global Affairs

14 Apr 2017

วิธีอ่าน 101

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ หัวหน้าภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดคอลัมน์ ‘อ่านโลก แบบ 101’ ทุกวันศุกร์ที่ 2 ของเดือน

“ครูสอนอ่านของผมท่านสอนวิธีอ่านงานวิชาการในสาขาที่ผมเรียนว่า ดนตรีไทยเขามี 3 ชั้น การอ่านเอาเรื่องเพื่อหาและสร้างความรู้ในสาขาของเราก็ต้องฝึกอ่าน 3 ชั้นเป็นพื้นฐานเหมือนกัน …

… ครูของผมใช้ทางอ่าน 3 ชั้นอ่านอะไรๆ ออกมาได้ล้ำลึกพิสดาร แต่พื้นฐานตั้งต้นในการอ่าน 3 ชั้นนี้ความจริงแล้วเรียบง่ายมากครับ ขึ้นอยู่กับว่าใครจะพลิกแพลงกระบวนท่าไปใช้ได้ถึงขั้นไหน”

วิธีอ่าน 3 ชั้น มีเคล็ดวิชาอย่างไร เชิญฝึก ‘วิธีอ่านโลกแบบเอาเรื่อง’ กับ ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ได้เลยครับ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

14 Apr 2017

Trends

13 Apr 2017

เปิดเคล็ดลับแผนธุรกิจปฏิวัติโลก

เทคโนโลยีเพียงอย่างเดียวไม่สามารถปฏิวัติโลกแห่งธุรกิจ หรือช่วย ‘ยักษ์ใหม่’ ล้ม ‘ยักษ์ใหญ่’ ได้

‘แผนธุรกิจ’ หรือ Business Plan ต่างหากที่มีความสำคัญ อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์ เปิดผลการศึกษาของทีมนักวิจัยมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เผยเคล็ดลับหกประการของแผนธุรกิจระดับปฏิวัติโลก

อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์

13 Apr 2017

Trends

7 Apr 2017

เมื่อคนรุ่นใหม่หนีโลกความจริง…ไปเล่นวิดีโอเกม

เมื่อสังคมสหรัฐฯ มาถึงจุดที่คนรุ่นใหม่ (ส่วนหนึ่ง) หนีโลกแห่งความเป็นจริงไปใช้ชีวิตอยู่ในวิดีโอเกม
อาร์ม ตั้งนิรันดร คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ ชวนคิดเรื่องวิดีโอเกม จากมุมมองทางเศรษฐกิจ สังคม และนโยบายสาธารณะ

อาร์ม ตั้งนิรันดร

7 Apr 2017

Global Affairs

6 Apr 2017

ซีเรีย 101: จากสงครามกลางเมือง สู่สงครามตัวแทน

ใครอยากรู้ที่มาที่ไปของสงครามซีเรียต้องอ่าน!

คนส่วนใหญ่รู้ว่าเกิดสงครามกลางเมืองในประเทศซีเรีย แต่อะไรคือสาเหตุของสงคราม ที่ทำให้เมืองที่หลายพื้นที่เป็นมรดกโลกถูกทำลายเหลือเพียงซากปรักหักพัง? และทำไมศูนย์กลางของสงครามต้องเป็นเมืองอเลปโป?

นอกจากนั้น สงครามที่ยืดเยื้อยาวนานก้าวไปไกลกว่าการสู้รบกันระหว่างฝ่ายรัฐบาลและกลุ่มกบฏ แต่พัฒนากลายเป็นสงครามตัวแทนของหลายฝ่าย … ใครเป็นใครในฝ่ายไหนกันบ้าง?

พลอย ธรรมาภิรานนท์ จะพาไปหาคำตอบของคำถามเหล่านี้ และเปิดประเด็นถกเถียงเกี่ยวกับสงครามในซีเรียที่โลกกำลังให้ความสนใจ

พลอย ธรรมาภิรานนท์

6 Apr 2017

People

4 Apr 2017

ชีวิตและความคิดของ “หล่ะ มยิ้น” เทคโนแครตร่วมชะตากรรมป๋วย : ภาพสะท้อนของพม่าสมัยใหม่ยุคหลังสงคราม

นักเศรษฐศาสตร์ ผู้ร่ำเรียนปริญญาเอกจาก LSE ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ลูกศิษย์ของรอบบินส์กับฮาเย็ค เทคโนแครตคนสำคัญของประเทศ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยชั้นนำ คนตรงในประเทศคด และปัญญาชนคนสำคัญผู้เลือกที่จะ ‘ตายนอกบ้าน’

เราไม่ได้เล่าเรื่อง ป๋วย อึ๊งภากรณ์ แต่ ลลิตา หาญวงษ์ แห่งภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จะชวนคุณไปรู้จัก “หล่ะ มยิ้น” นักเศรษฐศาสตร์ระดับตำนานของพม่า เทคโนแครตผู้มีชะตากรรมซ้อนทับกับ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ในหลายแง่มุม

“หล่ะ มยิ้น” เป็นใคร และมีคุณูปการต่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์ของโลกและพม่าอย่างไร และชีวิตของเขาสะท้อนให้เราเห็นภาพพม่าสมัยใหม่ยุคหลังสงครามอย่างไร ติดตามได้ในสารคดีพิเศษชิ้นนี้

ลลิตา หาญวงษ์

4 Apr 2017
1 87 88 89

MOST READ

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

Asia

29 Mar 2024

‘เกาหลีอาจไม่ใช่สวรรค์ของแรงงานข้ามชาติ’ สำรวจความทุกข์ร้อนของนักล่าเงินวอนในดินแดนที่รัฐไม่เหลียวแล

จากประเด็นผีน้อยที่ไม่เคยหายไปจากหน้าปัดสื่อไทย 101 ชวนเปิดไปสู่ประเด็นที่ใหญ่กว่า ว่าด้วยนโยบายต่อแรงงานข้ามชาติของเกาหลีใต้ สำรวจความทุกข์ยากของแรงงานในรัฐบาล ‘ขวาจัด’ พร้อมพูดคุยกับสหภาพแรงงานข้ามชาติในเกาหลีถึงเส้นทางการต่อสู้กับรัฐและนายจ้าง

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

29 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save