fbpx

World

15 Oct 2020

55 ปีเหตุการณ์เกสตาปู: การสังหารหมู่คอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซีย (2)

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงเรื่องราวหลังจาก ‘เหตุการณ์เกสตาปู’ จุดเริ่มต้นการสังหารหมู่สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียในช่วงปี 2508-9 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การสังหารหมู่ที่เลวร้ายที่สุดเหตุการณ์หนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือแม้กระทั่งของโลก

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

15 Oct 2020

World

21 Sep 2020

55 ปีเหตุการณ์เกสตาปู: การสังหารหมู่คอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซีย (1)

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึง ‘เหตุการณ์เกสตาปู’ จุดเริ่มต้นการสังหารหมู่สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียในช่วงปี 2508-9 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การสังหารหมู่ที่เลวร้ายที่สุดเหตุการณ์หนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือแม้กระทั่งของโลก

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

21 Sep 2020

World

20 Aug 2020

ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาของวิถีอาเซียน ภาษาของความเท่าเทียม (?)

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงอิทธิพลของภาษาอินโดนีเซียต่อการทำงานของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) และวิถีอาเซียน

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

20 Aug 2020

World

7 Aug 2020

53 ปีอาเซียน: เกิดจากสงครามเย็น 1.0 เผชิญหน้าสงครามเย็น 2.0

ในโอกาสครบรอบ 53 ปี การก่อตั้งอาเซียน ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึงจุดกำเนิดของอาเซียน ที่ถือกำเนิดขึ้นระหว่างสงครามเย็น 1.0 และต้องเผชิญกับสงครามเย็น 2.0 หรือสนามการแข่งขันระหว่างมหาอำนาจสหรัฐฯ-จีน

ปิติ ศรีแสงนาม

7 Aug 2020

World

17 Jul 2020

ร่วมรากแต่ขัดแย้ง ความบาดหมางระหว่างอินโดนีเซียและมาเลเซีย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงความขัดแย้งระหว่างประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ที่ทั้งสองประเทศมีรากเหง้าทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมร่วมกันหลายอย่าง จนนำไปสู่ความขัดแย้งในการช่วงชิงความเป็นเจ้าของภาษาและวัฒนธรรมมลายู

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

17 Jul 2020

Spotlights

1 Jul 2020

อินโดนีเซียในสมรภูมิ COVID-19 กับ อรอนงค์ ทิพย์พิมล

101 ชวนสนทนากับ ผศ.ดร.อรอนงค์ ทิพย์พิมล อาจารย์ประจำสาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถึงสถานการณ์โควิด-19 ในประเทศอินโดนีเซีย

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

1 Jul 2020

World

18 Jun 2020

การลักพาตัวและการบังคับบุคคลให้สูญหาย: ความรุนแรงโดยรัฐต่อประชาชนในอินโดนีเซีย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงการ ‘อุ้มหาย’ ที่เกิดขึ้นในช่วงวิกฤตการเมืองของอินโดนีเซีย ปี 1997-1998 และยังคงทิ้งร่องรอยไว้ตราบจนถึงปัจจุบัน

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

18 Jun 2020

Asean

8 Jun 2020

72 ชั่วโมงก่อนการมีตัวตน: เมื่อเด็กหนึ่งคนเกิดในไทย

สูติบัตรเสมือนเครื่องยืนยันตัวตนแรกๆ ของคนเราก่อนจะได้สิทธิต่างๆ ตามมา แต่ไม่ใช่เด็กทุกคนที่จะเข้าถึงกระบวนการได้สูติบัตรมาอย่างง่าย

รัศมิ์ลภัส กวีวัจน์

8 Jun 2020

Documentary

2 Jun 2020

‘กลับตัวไม่ได้ เดินต่อไม่ถึง’ ชีวิตแรงงานพม่าในกรุงเทพฯ หลังโควิด เมื่อคนทวายไม่อาจกลับบ้าน

มองชีวิตแรงงานชาวทวาย ที่อยู่รวมกันเป็นชุมชนหลังวัดไผ่ตัน พวกเขาอยู่อย่างไรในช่วงล็อคดาวน์ เมื่อไม่มีงาน ไม่มีเงิน และไม่ได้อยู่บ้าน พวกเขาแก้ปัญหาชีวิตอย่างไร

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

2 Jun 2020

World

23 Apr 2020

ภาษามลายูกับการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (1)

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงที่มา พัฒนาการ และความสำคัญของภาษามลายูต่อการเมืองและประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

23 Apr 2020

Economic Focus

31 Mar 2020

“บาซูก้า” การคลัง – สิงคโปร์ยิงแล้ว ไทยเอายังไง?

สิงคโปร์ยิงบาซูก้าการคลังออกมาสู้วิกฤตเศรษฐกิจแล้ว สันติธาร เสถียรไทย ตั้งคำถามว่า ถึงเวลาประเทศไทยยิงกระสุนให้ถูกขนาด-ถูกที่-ถูกเวลาหรือยัง?

สันติธาร เสถียรไทย

31 Mar 2020

World

22 Mar 2020

การเมืองเรื่องยุบพรรค : ย้อนดูการยุบพรรคการเมืองของอินโดนีเซีย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล ชวนย้อนดูประวัติศาสตร์การเมืองอินโดนีเซีย ผ่านเรื่องการ ‘ยุบพรรค’ การเมืองในสามยุค

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

22 Mar 2020

Issue of the Age

22 Mar 2020

กลไกอาเซียนต้าน COVID-19 : มาช้า ยังดีกว่าไม่มา

ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึง ASEAN EOC Network ซึ่งเป็นกลไกของอาเซียน ร่วมกับ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ เพื่อรับมือการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19

ปิติ ศรีแสงนาม

22 Mar 2020

Justice & Human Rights

3 Mar 2020

ความหวานอันขมขื่น : เมื่อที่ดินชาวบ้านสเรอัมเบลในกัมพูชา ต้องกลายเป็นไร่อ้อยของนายทุนไทย

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย ลงพื้นที่หมู่บ้านในเกาะกง กัมพูชา ที่ได้รับผลกระทบจากการเข้ามาของบริษัทน้ำตาลจากไทย เล่าเรื่องราวการต่อสู้ของชาวบ้านกว่า 13 ปี เพื่อให้ได้ที่ดินคืน

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

3 Mar 2020
1 15 16 17 19

MOST READ

Interviews

5 May 2024

สวนกล้วยของคนจีน-ชีวิตอาบสารเคมีของคนลาว: เสถียร ฉันทะ

101 คุยกับ ผศ.ดร.เสถียร ฉันทะ ผู้ทำวิจัยเรื่องสวนกล้วยจีนในลาวและพม่า ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นและการคืบคลานของสวนกล้วยจีนที่ขยายไปในลุ่มน้ำโขง อย่างพม่าและกัมพูชา

วจนา วรรลยางกูร

5 May 2024

Asean

1 May 2024

‘ลี เซียนลุง’ สู่ ‘ลอว์เรนซ์ หว่อง’ : การสืบทอดอำนาจสู่ผู้นำรุ่น 4 ในยุคที่การรักษาอำนาจการเมืองสิงคโปร์ไม่ง่ายเหมือนเคย

101 วิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านอำนาจของสิงคโปร์สู่ผู้นำรุ่นที่ 4 ‘ลอว์เรนซ์ หว่อง’ ในวันที่พรรค PAP ที่ผูกขาดอำนาจมานาน อาจรักษาอำนาจยากขึ้น

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 May 2024

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save