fbpx

Spotlights

11 Oct 2022

เมื่อโครงสร้างประเทศไทยกำลังทำลายการเรียนการสอนศิลปะ​ : วันทนีย์ ศิริพัฒนานันทกูร

101 ชวน ผศ.วันทนีย์ ศิริพัฒนานันทกูร อาจารย์ประจำสาขาสื่อผสม คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาศิลปากร มาร่วมไขโจทย์การเรียน-การสอนศิลปะที่ว่าด้วยความเข้าใจตัวเองและสังคม ไปจนถึงปัญหาที่ผู้สอนและผู้เรียนต้องเจอในภาวะ ‘กึ่งพิกลพิการ’ ของโลกศิลปะร่วมสมัยไทย

กองบรรณาธิการ

11 Oct 2022

Life & Culture

2 Aug 2022

มนต์เสน่ห์ของประวัติศาสตร์ คือการถกเถียงกับอดีตไม่รู้จบ: ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

ในวันที่โลกเรียกร้องการทำความเข้าใจมนุษย์และสังคมมากกว่าที่เคย ทิศทางการศึกษาประวัติศาสตร์กำลังมุ่งไปทางไหน? หนทางใดที่นักประวัติศาสตร์จะเปิดคำอธิบายใหม่ๆ เพื่อเข้าใจความเป็นมนุษย์ได้มากยิ่งขึ้น? การเรียนการสอนประวัติศาสตร์ต้องปรับเปลี่ยนอย่างไร? และวงการประวัติศาสตร์จะเดินหน้าต่อไปในอนาคตได้อย่างไร? 101 สนทนากับ ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ในประเด็น ‘ประวัติศาสตร์ต้องรอด!’

กองบรรณาธิการ

2 Aug 2022

Spotlights

23 Mar 2022

ภาพยนตร์จะไม่ตาย แต่รอการท้าทายอยู่เสมอ : ไกรวุฒิ จุลพงศธร

ไกรวุฒิ จุลพงศธร อาจารย์ประจำภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มองการขยับอีกครั้งของโลกภาพยนตร์และการศึกษาภาพยนตร์ เมื่อเทคโนโลยีเปลี่ยน แต่ภาพยนตร์จะยังคงรับใช้มนุษย์บนแก่นวิธีคิดเดิมในฐานะ ‘ภาพสะท้อน’ โลกและมนุษย์

วจนา วรรลยางกูร

23 Mar 2022

ต้องรอด!

29 Oct 2021

“หน้าที่ของรัฐศาสตร์ คือการทำให้สังคมรู้เท่าทันอำนาจ” ประจักษ์ ก้องกีรติ

ในวันที่โลกยังตั้งคำถามว่าอะไรคือการปกครองที่ดีและยังพยายามหาคำตอบอยู่ 101 สนทนากับ ประจักษ์ ก้องกีรติ เกี่ยวกับขอบฟ้าโลกความรู้การเมือง พลังอำนาจของความรู้เรื่องการเมือง และการเรียนการสอนการเมืองการปกครองในวันที่ทั่วโลกตกอยู่ในภาวะประชาธิปไตยถดถอย

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

29 Oct 2021

ต้องรอด!

2 Sep 2021

เมื่อมนุษย์ซับซ้อน ความรู้การแพทย์จึงไม่สิ้นสุด: นพ.มานพ พิทักษ์ภากร

101 ชวน ศ.นพ.มานพ พิทักษ์ภากร หัวหน้าศูนย์วิจัยการแพทย์แม่นยำ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มาพูดคุยว่าด้วยการเรียนการสอนแพทย์ในปัจจุบัน การเผชิญหน้ากับความตาย และพายุความรู้ใหม่ที่เข้ามาสั่นคลอนความเชื่อเดิม 

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

2 Sep 2021

Spotlights

29 Jul 2021

How to be human เปิดบทเรียนความเป็นมนุษย์ (ที่ดีกว่าเดิม) กับ นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์

101 สนทนากับ นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ เกี่ยวกับพัฒนาการและองค์ความรู้แบบมานุษยวิทยา การปรับตัวของศาสตร์ และการเรียนการสอนมานุษยวิทยาในไทย

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

29 Jul 2021

Politics

21 Apr 2021

“หัวใจสำคัญของนิติศาสตร์คือ การทำให้คนเชื่อว่ายังมีความยุติธรรมอยู่” เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

101 สนทนากับ เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เกี่ยวกับองค์ความรู้และการเรียนการสอนนิติศาสตร์ ไปจนถึงบทบาทของคณะในยุคที่กระบวนการยุติธรรมถูกตั้งคำถามจากสังคม

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

21 Apr 2021

Education

16 Nov 2020

“ทำละครเพื่ออะไร?” – ภาสกร อินทุมาร ความเปลี่ยนแปลงของการละคร ในโลกที่เต็มไปด้วยคำถาม

101 คุยกับ ผศ.ดร.ภาสกร อินทุมาร ในประเด็น ‘ละครต้องรอด!’ ว่าด้วยการดำรงอยู่ของการละครในโลกยุคใหม่ ความเปลี่ยนแปลงในการเรียนการสอนละคร และละครแบบไหนที่จะช่วยเติมเต็มสิ่งที่ขาดหายในสังคม

วจนา วรรลยางกูร

16 Nov 2020

Spotlights

13 Aug 2020

ครุศาสตร์ ต้องรอด! : “จะเป็นครู ต้องไม่หยุดเรียนรู้” – ภาวิณี โสธายะเพ็ชร

อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของครุศาสตร์-ศึกษาศาสตร์จะเป็นเช่นไร? 101 ชวน ดร.ภาวิณี โสธายะเพ็ชร จากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาร่วมค้นหา ‘ทางรอด’ ของครูและศาสตร์การสอนครูในยุคที่ผันผวน ยากคาดการณ์ แต่เรียกร้องให้ครูก้าวทันความเป็นไปในสังคมอยู่เสมอ

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

13 Aug 2020

Spotlights

30 Jun 2020

“ไม่มี Theory of Everything ในโลกของ IR” จิตติภัทร พูนขำ

101 สนทนากับ จิตติภัทร พูนขำ เกี่ยวกับองค์ความรู้และโลกของ IR ไปจนถึงการเรียนการสอน และการปรับตัวของ IR ในยุคที่โลกผันผวนและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

30 Jun 2020

Spotlights

18 Mar 2020

สถาปัตย์ฯ ต้องรอด! : “สถาปัตยกรรมศาสตร์ ต้องไม่แยกขาดจากสังคม” ต้นข้าว ปาณินท์

คุยกับ ต้นข้าว ปาณินท์ อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรว่าด้วยเรื่องความเป็นมา ความเป็นไป และการปรับตัวของสถาปัตยกรรมศาสตร์ในโลกปัจจุบัน

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

18 Mar 2020

Education

10 Feb 2020

‘สื่อเกิดขึ้นมาทำไม’ เมื่อคำถามเก่าๆ คือทางออกของสื่อยุคใหม่ กับ พรรษาสิริ กุหลาบ

#ต้องรอด ตอนแรก ว่าด้วย วารสารศาสตร์กับความท้าทายของสื่อยุคปัจจุบัน และบทบาทของนักวารสารศาสตร์ยุคใหม่ ที่ต้องมีทั้งทักษะ ทัศนคติ และความเข้าใจในบทบาทของคนสื่อ

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

10 Feb 2020

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017