fbpx

Social Problems

8 Aug 2019

หลักประกันสุขภาพที่รัก (39): วิ่งเพื่อการเปลี่ยนแปลง

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ ชวนคิดถึงการสร้างสวนสุขภาพ เมื่อสัดส่วนงบประมาณการส่งเสริมป้องกันสุขภาพมีน้อยมาก แต่โรงพยาบาลจำนวนมากมุ่งสร้างตึกใหม่เรื่อยๆ ทั้งที่ผู้ป่วยก็ไปออกันที่จังหวัดใหญ่เช่นเดิม

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

8 Aug 2019

People

22 Jul 2019

สวัสดิการเพื่อการมีลูกของพนักงานประจำ ‘นอกห้องแอร์’ : ใครร่วงหล่นจากโครงข่ายความคุ้มครองทางสังคม ?

101 พาไปสำรวจพนักงานประจำ ที่ไม่ได้นั่งทำงานในห้องแอร์ ว่าพวกเขามีชีวิตอย่างไรตอนท้อง สวัสดิการโอบอุ้มไว้ครอบคลุมแค่ไหน และมีความคาดหวังอย่างไรกับสวัสดิการรัฐบ้าง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

22 Jul 2019

Social Problems

18 Jul 2019

หลักประกันสุขภาพที่รัก (38) : ออสเลอร์และจริยธรรมทางการแพทย์ ตอนที่ 4 (จบ)

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงชีวิตของ วิลเลียม ออสเลอร์ บิดาการแพทย์สมัยใหม่มาถึงตอนที่ 4 ผู้พยายามวางรากฐานการรักษาจริยธรรมแพทย์ไว้ หากแต่ปัจจุบันกลับเกิดปัญหาการแย่งชิงผู้ป่วยเพื่อผลตอบแทนเย้ายวน

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

18 Jul 2019

Thai Politics

17 Jul 2019

มหากาพย์คนไร้สัญชาติ ข้ามให้พ้นคำถาม “คนไทยหรือเปล่า” : สุรพงษ์ กองจันทึก

ฟัง ‘สุรพงษ์ กองจันทึก’ ประธานมูลนิธิผสานวัฒนธรรมเล่าปัญหาคนไร้สัญชาติที่เรื้อรังเนิ่นนานมาหลายทศวรรษ ท่ามกลางความมั่นคงที่เดินนำหน้าสิทธิมนุษยชน

ธิติ มีแต้ม

17 Jul 2019

Happy Family

4 Jul 2019

เมื่อ ‘รายได้’ ไม่ใช่คำตอบสุดท้าย : ทำความเข้าใจ ‘ครอบครัวแหว่งกลาง’ กับ เนื้อแพร เล็กเฟื่องฟู

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ สนทนากับ ดร.เนื้อแพร เล็กเฟื่องฟู อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เจ้าของงานวิจัย ‘บทบาทของสภาพครัวเรือนต่อการพัฒนาคุณภาพกำลังแรงงานในอนาคต’ ว่าด้วยต้นตอ ผลกระทบ และข้อเสนอแนะต่อปัญหา ‘ครอบครัวแหว่งกลาง’ หรือครอบครัวที่มีสมาชิกรุ่นปู่-ย่า แล้วข้ามไปที่รุ่นหลาน โดยขาดสมาชิกรุ่นพ่อ-แม่

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

4 Jul 2019

Social Problems

3 Jul 2019

หลักประกันสุขภาพที่รัก (37) : ออสเลอร์และจริยธรรมทางการแพทย์ ตอนที่ 3

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงชีวิตของ เซอร์วิลเลียม ออสเลอร์ บิดาแห่งแพทยศาสตร์สมัยใหม่ มาถึงตอนที่ 3 เมื่อสภาพแวดล้อมชีวิตช่วงต้นส่งผลให้ออสเลอร์เป็นแพทย์ที่มีหัวใจของมนุษย์มากที่สุดคนหนึ่ง จากอิทธิพลของธรรมชาติวิทยา เทววิทยา และวรรณคดี

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

3 Jul 2019

Happy Family

2 Jul 2019

ครอบครัวไทยในยุค ‘เกิดน้อย – อายุยืน’ : ทางเลือกและข้อท้าทาย

สรุปงานเสวนา ครอบครัวไทยยุคเกิดน้อยอายุยืน : ทางเลือกและข้อท้าทาย’ ในหัวข้อ ‘ทำอย่างไรให้ครอบครัวฟังก์ชัน? : บทบาทสถาบันที่เกี่ยวข้อง’ ว่าด้วยข้อมูลหลายอย่างที่สะท้อนให้เห็นภาพจริงของสังคมไทยมากขึ้น ผ่านการเปลี่ยนแปลงของลักษณะครอบครัวยุคใหม่

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

2 Jul 2019

Social Problems

26 Jun 2019

นิทรรศการภาพ ‘พื้นที่สีเทา’ เล่าความเป็นคน เติมสิทธิมนุษยชนให้ภาพจำชายแดนใต้

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ เขียนถึงนิทรรศการภาพถ่าย ‘พื้นที่สีเทา’ ของ ยศธร ไตรยศ และวงเสวนาประเด็นสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เรื่องราวปัญหา ตัดสลับกับภาพชายแดนใต้ จะสะท้อนภาพความเป็นจริงของปัญหา และตอบคำถามว่า ทำไมเราควรมองภาพสามจังหวัดชายแดนใต้ให้ธรรมดาสามัญ

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

26 Jun 2019

Social Problems

6 Jun 2019

หลักประกันสุขภาพที่รัก (35) : ออสเลอร์และจริยธรรมทางการแพทย์ ตอนที่ 1

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงชีวิตวัยเด็กของบิดาการแพทย์สมัยใหม่ ‘วิลเลียม ออสเลอร์’ เจ้าของวาทะ “Listen to your patient, he is telling you the diagnosis.”

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

6 Jun 2019

Social Problems

23 May 2019

หลักประกันสุขภาพที่รัก (34) : ห้าปีที่สูญหาย

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงสองขั้วตรงข้ามของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และปัญหาใหม่ที่เรื้อรังมานาน 5 ปีเต็มจากแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาล

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

23 May 2019

Social Problems

9 May 2019

หลักประกันสุขภาพที่รัก (33) : ฟรอยด์ ย้ำคิดย้ำทำ และ 30 บาทรักษาทุกโรค

หนังสือ ‘ฟรอยด์: ความรู้ฉบับพกพา’ เล่าบุคลิกภาพของ ซิกมันด์ ฟรอยด์ ว่าเป็นพวกหมกมุ่นอย่างเข้มข้นจนจะนำไปสู่ ‘โรคย้ำคิดย้ำทำ’ แต่ นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ มองว่าความย้ำคิดของฟรอยด์เป็นระดับบุคลิกภาพเท่านั้น

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

9 May 2019

Happy Family

23 Apr 2019

ผศ.ดร.มนสิการ กาญจนะจิตรา : เมื่อการเป็นผู้หญิง ไม่ได้ทำให้คนเสียเปรียบเท่าการเป็นแม่

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล คุยกับ ผศ.ดร.มนสิการ กาญจนะจิตรา ว่าด้วยสมดุลระหว่างการทำงาน กับการสร้างครอบครัวในโลกยุคใหม่

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

23 Apr 2019

Social Problems

18 Apr 2019

หลักประกันสุขภาพที่รัก (32) : จากฟรอยด์ถึงคุณหมอสงวน

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ อ่านหนังสือ ‘ฟรอยด์: ความรู้ฉบับพกพา’ แล้วใช้จิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ มอง นพ.สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ ที่เป็นผู้เสียสละ เข้าถึงและเข้าใจความทุกข์ยากของผู้คน

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

18 Apr 2019

Social Problems

4 Apr 2019

หลักประกันสุขภาพที่รัก (31) : ความเข้าอกเข้าใจร่วมกัน

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึง ‘ความเข้าอกเข้าใจร่วมกัน’ เกี่ยวกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ไม่ว่าจะยากดีมีจน เจ็บป่วยหรือแข็งแรง ทุกคนควรเข้าถึงการรักษาพยาบาลที่ดีได้โดยไม่มีเงื่อนไข

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

4 Apr 2019
1 16 17 18 21

RECOMMENDED

Social Issues

29 Apr 2024

‘ไม่เรียน ไม่ทำงาน ไม่มีความฝัน(?)’ ชีวิตที่ผ่านพ้นแบบวันต่อวันของเด็ก NEET

101 ชวนสำรวจชีวิตของเด็กนอกระบบการศึกษา นอกตลาดแรงงาน และไม่ได้รับการฝึกอบรม (NEET) ผู้อาศัยในชุมชนใจกลางเมืองกรุงเทพฯ

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

29 Apr 2024

Phenomenon

17 May 2024

เหยื่อของการถูกรังควาน: ตำนานเรื่องเก่า – อาชญากรรมเรื่องใหม่

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา เขียนถึงการ ‘รังควาน’ หรือสตอล์ก (stalk) ที่ไม่ได้มีเพียงผู้หญิงเท่านั้นที่ตกเป็นเหยื่อ รวมถึงยังไม่ใช่แค่เรื่องของปัจเจก แต่เป็นปรากฏการณ์ที่สะท้อนปัญหาเชิงโครงสร้างในสังคม ทั้งเรื่องความรุนแรง การเลือกปฏิบัติ กลุ่มเปราะบาง และอำนาจที่ไม่เท่าเทียม

โตมร ศุขปรีชา

17 May 2024

Social Issues

2 May 2024

ยามเมื่อลมพัดหวนที่ปักกิ่ง

เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึงกรุงปักกิ่งที่เขามักไปเยือนและความเปลี่ยนแปลงเรื่องมลพิษทางอากาศจากความพยายามทุ่มเทกว่าทศวรรษของจีน

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

2 May 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save