fbpx

Third Eye View

26 Apr 2018

ฝุ่นเยอะนักใช่มั้ย ศิลปะ (กำ) จัดให้ !

ในเมืองที่ห่มคลุมด้วยหมอกควันและมลพิษ มีงานศิลปะมากมายท้าทายปัญหานี้ Eyedropper Fill ชวนดูงานศิลปะนอกแกลอรีที่ช่วยให้อากาศดี

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

26 Apr 2018

Life & Culture

25 Apr 2018

สายธารการค้าแห่งหังโจว ต้าหยุนเหอถึงอาลีบาบา

ธุรกิจของแจ็คหม่าไม่ได้เกิดขึ้นอย่างเลื่อนลอย ประวัติศาสตร์ ความรู้ การศึกษา และวัฒนธรรมการค้าอันแข็งแกร่งของหังโจว บ้านเกิดของเขาล้วนมีส่วนหล่อหลอมขึ้นมา

ธีรภัทร เจริญสุข

25 Apr 2018

Life & Culture

25 Apr 2018

คนเราจะยอมให้สังคม ‘ผลัก’ ไปสุดขอบแค่ไหน และ เราจะ ‘ผลัก’ คนอื่นได้แรงแค่ไหน

ว่าด้วยเรื่องการทดสอบ ‘แรงผลัก’ ของสังคมที่ส่งผลต่อมนุษย์ ตั้งแต่สารคดี The Push ที่ตั้งคำถามว่า ‘คนเราจะถูกกดดันจนสามารถผลักคนตกตึกได้หรือไม่?’ แล้วย้อนไปถึง milgram experiment ที่ตั้งคำถามว่า ‘คนจะฟังผู้มีอำนาจเพียงใดเมื่อผู้มีอำนาจออกคำสั่งให้เขาทำสิ่งที่ขัดกับมโนธรรมส่วนตัว’ การตัดสินใจของเรา เป็นของเราจริงหรือไม่ มั่นใจแค่ไหนว่าไม่มีแรงผลักที่คอยบงการให้เราคิดแบบไหน

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

25 Apr 2018

Life & Culture

25 Apr 2018

ชุมชนป้อมมหากาฬ ใครจะเป็นเหยื่อรายต่อไป

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงการไล่รื้อชุมชนป้อมมหากาฬ พร้อมเปรียบเทียบวิธีคิดการจัดการเมือง Chania ประเทศกรีซ แหล่งกำเนิดอารยธรรมกรีกเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

25 Apr 2018

READ-O-SAPIENS

25 Apr 2018

เบสเมนต์ มูน: ไซไฟในสังคมไม่เสรี

ภาคิน นิมมานนรวงศ์ เขียนถึง เบสเมนต์ มูน นิยายเล่มล่าสุดของ ปราบดา หยุ่น ว่าด้วยโลกอนาคตในปี 2069 ที่ปัญญาประดิษฐ์จะเป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการคนเห็นต่างกับรัฐบาลเผด็จการ ในประเทศเผด็จการทั่วโลก หนึ่งในนั้นมีประเทศไทยรวมอยู่ด้วย นิยายเสียดสีอย่างแสบสันต์และพูดถึงปรัชญาไซไฟกับการเมืองได้น่าสนใจ

ภาคิน นิมมานนรวงศ์

25 Apr 2018

Life & Culture

20 Apr 2018

Facebook ที่ไร้ Mark Zuckerberg

โสภณ ศุภมั่งมี ชวนมองปรากฏการณ์ ข่าวการรั่วไหลของข้อมูลจากเฟซบุ๊กและอนาคตของ Mark Zuckerberg เมื่อทุกคนจับตามองว่าก้าวต่อไปของเฟซบุ๊กจะเป็นอย่างไร

โสภณ ศุภมั่งมี

20 Apr 2018

Spotlights

19 Apr 2018

Dust Atlas (3) ฝุ่นในดินแดนคอมมิวนิสต์และโลกเสรี

จีนและอเมริกาแก้ไขปัญหาฝุ่น PM 2.5 อย่างไร คอมมิวนิสต์เกินไป? หรือประชาธิปไตยเกินไปหรือไม่? ในความเข้มงวดอาจมีผ่อนเพลาอำนาจ และในความยืดหยุ่นอาจมีกรอบแข็งแรง

ชลธร วงศ์รัศมี

19 Apr 2018

TREND RIDER

19 Apr 2018

ก่อนจะถึงรถยนต์ไร้คนขับ

คอลัมน์ #TrendRider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนสำรวจรถยนต์ยุคดิจิทัลที่มีแนวโน้มจะ ‘ฉลาด’ ยิ่งขึ้นเรื่อยๆ
ความฉลาดเหล่านี้มีสิ่งใดน่าห่วงใย และจะพลิกประสบการณ์การเดินทางของมนุษย์ยุคดิจิทัลอย่างไร ความเปลี่ยนแปลงนี้ไม่ใช่เรื่องไกลตัวเกินไป เช่นเดียวกับที่โซเชียลมีเดียเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตเรามาแล้ว

โตมร ศุขปรีชา

19 Apr 2018

หลักประกันสุขภาพที่รัก

19 Apr 2018

หลักประกันสุขภาพที่รัก (8) : พลเมืองที่มีคุณภาพ

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึง “หลักประกันสุขภาพที่รัก” เรื่ององค์กรปกครองท้องถิ่น มาเฟีย คนชายขอบ เบนเฮอร์ ความเป็นพลเมือง และปมกอร์เดียนกับพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

19 Apr 2018

Life & Culture

16 Apr 2018

‘อัมสเตอร์ดัม’ กับสังคมที่เป็นธรรมของ อมาร์ตยา เซน

ธร ปีติดล ชำแหละข้อถกเถียงทางจริยธรรมในนวนิยาย ‘อัมสเตอร์ดัม’ ของ เอียน แมคอีแวน เทียบเคียงกับแนวคิดเรื่อง ‘สังคมที่เป็นธรรม’ ของอมาร์ตยา เซน

ธร ปีติดล

16 Apr 2018

POETIC

14 Apr 2018

บทกวีแด่โรคมะเร็ง

โรคมะเร็งมีบทกวีเป็นของตนเองมากอย่างน่าทึ่ง ทั้งตลกร้าย โศกเศร้า กระทั่งบทกวีที่เอ่ยถึงพัฒนาการของมัน คอลัมน์ Poetic ชวนผู้อ่านเจาะเข้าไปในเซลล์มะเร็งที่เชื่อมต่อกับหัวใจกวีใน ‘บทกวีแด่โรคมะเร็ง’

ชลธร วงศ์รัศมี

14 Apr 2018

Interviews

14 Apr 2018

คุยกับ ภาสกร อินทุมาร ว่าด้วยการละคอน วิพากษ์ละครเวทีร่วมสมัย และละครโทรทัศน์ไทย คนทำงานศิลปะอยู่อย่างไรในบ้านเมืองนี้

คุยกับ ดร.ภาสกร อินทุมาร ว่าด้วยละครการเมือง แวดวงละครเวทีของไทยเป็นอย่างไร ละครทำหน้าที่อะไรต่อสังคมได้บ้าง การประสาน ‘ศิลปะ’ กับ ‘การเมือง’ ในยุคที่ไม่สามารถพูดอะไรออกไปตรงๆ เป็นแบบไหน ทำอย่างไรที่จะสะท้อนมุมมองต่อการเมืองผ่านละครอย่างมีชั้นเชิง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

14 Apr 2018

Interviews

10 Apr 2018

‘ออทิสซึม’ บนถนนสายความรักของครอบครัว

วันดี สันติวุฒิเมธี พาไปสำรวจเรื่องราวของเด็กที่มีภาวะ ‘ออทิสซึม’ ที่ได้รับการหล่อหลอมเลี้ยงดูบนพื้นฐานของความรัก ความรู้ และความเข้าใจ

วันดี สันติวุฒิเมธี

10 Apr 2018
1 150 151 152 177

MOST READ

Phenomenon

2 May 2024

พ่อแม่แบบไหนเสียใจที่มีลูก

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาคิดเรื่อง ‘ความเสียใจที่มีลูก’ ชวนมองย้อนไปถึงแรงกดดันจากสังคมซึ่งสัมพันธ์กับค่านิยมเรื่องสถาบันครอบครัว

โตมร ศุขปรีชา

2 May 2024

Life & Culture

22 Apr 2024

‘หลานม่า’ มูลค่าแห่งความห่วงหาอาทร

ในความรักและเอาใจช่วย ‘หลานม่า’ (2024) หนังยาวของ พัฒน์ บุญนิธิพัฒน์ มากแค่ไหน แต่นักวิจารณ์ภาพยนตร์อย่าง ‘กัลปพฤกษ์’ ก็ยังอยากท้วงติงถึงความไม่สมบูรณ์บางอย่างของหนังอยู่ดี ไม่ว่าจะจากบทหรือการแสดงก็ตาม

‘กัลปพฤกษ์’

22 Apr 2024

Life & Culture

18 Apr 2024

หลานม่า : ต้นไม้ เพดาน บ้าน ฮวงซุ้ย

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา ชวนสำรวจความสัมพันธ์ของครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีนใน ‘หลานม่า’ (2024) หนังที่ว่าด้วยหลานชายที่ต้องไปดูแลอาม่าผู้ป่วยเป็นมะเร็ง สิ่งที่ซุกซ่อนอยู่ใต้เส้นเรื่องที่ดูเหมือนจะคาดเดาได้ คือลำดับขั้นของความสัมพันธ์และบาดแผลที่ส่งต่อกันจากรุ่นสู่รุ่น

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา

18 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save