fbpx

Life & Culture

14 Dec 2022

สเปน-โมร็อกโก: คู่ปรับข้ามทวีปบนความขัดแย้งแห่งประวัติศาสตร์

คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์พาไปท่องประวัติศาสตร์ความขัดแย้งระหว่างโมร็อกโก-สเปน ประเทศต่างทวีปที่ห่างกันแค่ช่องแคบยิบรอลตาร์กั้น

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

14 Dec 2022

Life & Culture

4 Dec 2022

‘Soft power’ ไทย: ฝันลมๆ แล้งๆ ของคนใช้แต่อำนาจ

อะไรทำให้ ‘ซอฟต์พาวเวอร์’ แบบไทยๆ ไม่ไปไหนไกลสักที นิติ ภวัครพันธุ์ ชวนสำรวจกลไกในการสร้างซอฟต์พาวเวอร์ที่ผูกโยงกับสังคม การเมือง และเสรีภาพอย่างแยกออกไม่ขาด -และอาจเป็นเหตุผลว่าทำไมซอฟต์พาวเวอร์ในไทยจึงเป็นได้เพียงความฝันที่เรายังไปไม่ถึงสักที

นิติ ภวัครพันธุ์

4 Dec 2022

Life & Culture

29 Nov 2022

ฮอยอัน – ณ ที่สิ้นสุดของบางสิ่ง

คอลัมน์ Sideway เดือนนี้ว่าด้วยการเดินทางใน ‘ฮอยอัน’ เมืองท่าที่เคยรุ่งเรืองที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

29 Nov 2022

Lifestyle

28 Nov 2022

Agony Uncle* Hema ลุงเฮม่าตอบปัญหา: ว่าด้วยความเป็นหน้าเป็นตาของชุดราตรี และดินเนอร์เอเปคในจินตนาการ

ลุงเฮม่าตอบปัญหาว่าด้วย การหา ชุดราตรี ไปงานแต่งงานโดยไม่ซ้ำกัน และดินเนอร์เอเปคในจินตนาการที่แสดงออกถึงความเป็นไทย

ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์

28 Nov 2022

World

28 Nov 2022

‘Truman babies’ อีกด้านของการบันทึกชีวิตลูกให้คนทั้งโลกดู

คอลัมน์ Popcapture ว่าด้วยชีวิตของเด็กๆ ที่เติบโตในครอบครัวที่ถ่ายวิดีโอพวกเขาแล้วโพสต์ลงโซเชียลมีเดียตั้งแต่ยังเล็ก -หรือเรียกกันว่า Truman babies- นำมาสู่คำถามเรื่องการละเมิดความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยของเด็กๆ เอง ในโลกที่คนแปลกหน้าต่างพากันรู้รายละเอียดและความเคลื่อนไหวของพวกเขา

พิมพ์ชนก พุกสุข

28 Nov 2022

Life & Culture

25 Nov 2022

101 In Focus Ep.156 : การเมืองในบอลโลก

101 In Focus สัปดาห์นี้ชวนคุยว่าด้วยการเมืองเบื้องหลังฟุตบอลโลก เราจะมองเรื่อง ‘นอกสนาม’ อย่างไรให้แหลมคม เมื่อฟุตบอลไม่ใช่แค่การส่งลูกไปมาในสนามเท่านั้น แต่ยังมีเรื่องอีกมากมายอยู่หลังผืนหญ้าอันยิ่งใหญ่นี้

กองบรรณาธิการ

25 Nov 2022

Life & Culture

24 Nov 2022

เปลก็ไกว ดาบก็แกว่ง: ผู้หญิงล้านนากับการสงคราม

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึงนักรบหญิงชาวล้านนา ที่มีวีรกรรมจดจารเอาไว้ในประวัติศาสตร์ เพื่อสะท้อนว่าหญิงล้านนามีบทบาทมากกว่าการเป็นแม่บ้านแม่เรือน

พริษฐ์ ชิวารักษ์

24 Nov 2022

Lifestyle

24 Nov 2022

ทำอาชีพอิสระได้อะไรบ้าง

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงประสบการณ์ส่วนตัวหลังจากลาออกจากงานประจำมาทำงานในฐานะฟรีแลนซ์ ตลอดระยะเวลา 4 ปี วันชัยได้เรียนรู้ 10 สิ่งจากการเป็นนายของตัวเองในบทความนี้

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

24 Nov 2022

Life & Culture

23 Nov 2022

เมื่อเจ้าพ่อเจ้าแม่แห่งบ้านหนองขาวกลับมาร่ายรำ : หมดยุค social distancing ระหว่าง ‘คน’ กับ ‘เทพ’

เรื่องราวของเทพเจ้าในหมู่บ้านหนองขาว ที่คนในหมู่บ้านมีความเชื่ออย่างเข้มข้น ทำความรู้จักพิธีกรรมที่เพิ่งกลับมาจัดได้หลังโควิด เมื่อเทพเจ้าลงมาร่ายรำอีกครั้ง

ธนพล หยิบจันทร์

23 Nov 2022

Life & Culture

21 Nov 2022

บอลโลกในสนามการเมือง: การช่วงชิงความหมายของการแข่งขันฟุตบอลโลกในระบอบการเมืองเผด็จการ

ตฤณ ไอยะรา เขียนถึงฟุตบอลโลกอาร์เจนตินา 1978 และรัสเซีย 2018 ที่ล้วนปกครองด้วยระบอบเผด็จการในเวลาที่จัดการแข่งขัน เพื่อสะท้อนการช่วงชิงความหมายของการแข่งขันฟุตบอลโลกในระบอบการเมืองเผด็จการ

ตฤณ ไอยะรา

21 Nov 2022

Life & Culture

18 Nov 2022

กาตาร์ – ซาอุดีอาระเบีย: การงัดข้อบนผลประโยชน์ของอ่าวเปอร์เซีย

คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์ จันทวิชชประภา เขียนถึงชาติร่ำรวยในอ่าวเปอร์เซียอย่าง ‘กาตาร์-ซาอุดีอาระเบีย’ ประเทศใกล้เคียงที่บาดหมางกันทั้งในและนอกสนามฟุตบอล

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

18 Nov 2022

Life & Culture

18 Nov 2022

1 ปีหลังบอกลาวงการบันเทิง ของ ‘ลูกกอล์ฟ’ คณาธิป สุนทรรักษ์

101 คุยกับ ‘ลูกกอล์ฟ’ คณาธิป สุนทรรักษ์ ตั้งแต่ความเปลี่ยนแปลงหลังบอกลาวงการบันเทิงมากว่า 1 ปี ย้อนมองวัฒนธรรมการ call-out และความคิดเห็นต่อกระแสการเมืองไทย

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

18 Nov 2022

Lifestyle

9 Nov 2022

Agony Uncle* Hema ลุงเฮม่าตอบปัญหา: ว่าด้วยราคาของหนังสือ และภาษาพูดมีเพศไหม (คับจารย์)

ลุงเฮม่าตอบปัญหาว่าภาษาของยุคสมัยที่มีเพศมากำกับ ไม่ว่าจะเป็น ภาษาชายแท้ หรือภาษากะเทย สรุปแล้วภาษามีเพศไหม

ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์

9 Nov 2022

Life & Culture

7 Nov 2022

เรื่องเล่าริมโขง ความทรงจำที่ไร้ ‘กรุงเทพฯ’

นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนเล่าถึงประวัติศาสตร์ริมฝั่งโขง กับเรื่องเล่าของสงคราม, ความเป็นรัฐชาติ, คอมมิวนิสต์ ฯลฯ อันก่อให้เกิดเป็นความทรงจำพื้นถิ่นซึ่งไม่ปรากฏในที่แห่งอื่น

นิติ ภวัครพันธุ์

7 Nov 2022

Bite-Sized Clip

4 Nov 2022

ทำความเข้าใจสุราเสรี เมื่อ ‘กฎกระทรวงผลิตสุราใหม่’ ไม่ใช่ ‘สุราก้าวหน้า’

กว่าระยะเวลา 2 เดือนเมื่อร่าง พ.ร.บ. สุราก้าวหน้าผ่านวาระแรกมาแล้ว และก้าวเข้าสู่การประชุมวาระ 2 และ 3 เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายนที่ผ่านมา แต่ก่อนเข้าสู่สภาเพียง 1 วัน รัฐบาลประกาศแก้ไขกฎกระทรวงผลิตสุราใหม่ จนเกิดข้อถกเถียงตั้งแต่ข้อกฎหมายไปจนถึงว่านี่คือการเคลื่อนไหวในทางการเมืองของฟากฝั่งรัฐบาลหรือไม่? 101 พูดคุยกับ ผศ.ดร.เจริญ เจริญชัย อาจารย์ประจำสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จากกลุ่ม surathai เพื่อหาคำตอบภายใต้สิ่งเจือปนในกฎกระทรวงครั้งนี้

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์

4 Nov 2022
1 5 6 7 30

MOST READ

Life & Culture

29 May 2024

การเก็บของย้ายบ้าน คือการจัดการความทรงจำ: เราจะเลือกหอบหิ้ว ‘เรื่องราว’ ใดไปสู่ส่วนเสี้ยวใหม่ของชีวิต

เมื่อการย้ายบ้านเป็นมากกว่าการขนของหรือเคลื่อนย้าย หากแต่เป็นเสมือนการจัดระเบียบความทรงจำของครอบครัวด้วย

พิมพ์ชนก พุกสุข

29 May 2024

Phenomenon

17 May 2024

เหยื่อของการถูกรังควาน: ตำนานเรื่องเก่า – อาชญากรรมเรื่องใหม่

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา เขียนถึงการ ‘รังควาน’ หรือสตอล์ก (stalk) ที่ไม่ได้มีเพียงผู้หญิงเท่านั้นที่ตกเป็นเหยื่อ รวมถึงยังไม่ใช่แค่เรื่องของปัจเจก แต่เป็นปรากฏการณ์ที่สะท้อนปัญหาเชิงโครงสร้างในสังคม ทั้งเรื่องความรุนแรง การเลือกปฏิบัติ กลุ่มเปราะบาง และอำนาจที่ไม่เท่าเทียม

โตมร ศุขปรีชา

17 May 2024

Life & Culture

21 May 2024

เกษตรอินทรีย์ไม่ใช่คนโลกสวย

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ ตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับการปลูกเกษตรอินทรีย์ จากประสบการณ์การปลูกข้าวและถั่วเหลืองอินทรีย์มาเป็นระยะเวลากว่าสี่ปี

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

21 May 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save